คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : หากเงินซื้อความปลอดภัยได้ แล้วเงินเท่าไหร่ถึงจะซื้อความปลอดภัยที่มากพอสำหรับผู้หญิง

หนึ่งใน Content การเงินที่อาจจะเคยผ่านตาผู้อ่านมาบ้างตั้งแต่เด็กจนโต คือ เนื้อหาเกี่ยวกับการออมเงิน การแบ่งเงินจากรายรับเพื่อเป็นเงินเก็บ หากโตขึ้นหน่อยก็เป็นการแบ่งเพื่อไปลงทุนและการลงทุนสำหรับส่วนที่เหลือสำหรับจ่ายค่าใช้จ่ายจำเป็นต่างๆ โดยค่าใช้จ่ายหลักที่ถือว่าเป็นส่วนใหญ่ของรายรับทั้งหมดคือ “ค่าที่อยู่อาศัย”

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | ท้องถิ่นอาจช้ำ เมื่อความเหลื่อมล้ำถูกซ้ำด้วยการจัดสรรงบประมาณที่ไม่มีประสิทธิภาพ

รู้หรือไม่ ? การจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลางที่ไม่เป็นธรรม ไม่โปร่งใส และขาดเป้าหมายชัดเจน อาจกลายเป็นการเพิ่มปัญหาความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น แทนที่จะช่วยลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ แล้วเราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ?

ผู้จัดการศูนย์ KRAC ร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “Bangkok Budgeting งบประมาณกรุงเทพมหานครทำอย่างไรให้ เปิดเผย โปร่งใส และมีส่วนร่วมได้ ?”

เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้บริหารในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้สอดรับกับความท้าทายในยุคปัจจุบัน

KRAC Insight | สรุปงานเสวนา จะบริหารงบประมาณอย่างไรให้มีประสิทธิภาพและป้องกันการคอร์รัปชันได้?

ชวนอ่านสรุป “การประชุมเชิงวิชาการด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” หัวข้อ “โครงการริเริ่มสนับสนุนการพัฒนาการกำกับดูแลและส่งเสริมการบริหารการเงินที่โปร่งใสและมีความรับผิดชอบ”

ACT Now EP. 30 PART 2 เพิ่มพลังพลเมือง ด้วยแนวคิดงบประมาณแบบมีส่วนร่วม I ACT

คลิปความรู้จากรายการ ACT Now ตื่นสู้ รับรู้ กลโกงคอร์รัปชัน : ปัญหาการจัดการงบประมาณ แก้ไขได้ด้วยแนวคิดงบประมาณแบบมีส่วนร่วม

ACT Now EP. 30 PART 1 เพิ่มพลังพลเมือง ด้วยแนวคิดงบประมาณแบบมีส่วนร่วม I ACT

คลิปความรู้จากรายการ ACT Now ตื่นสู้ รับรู้ กลโกงคอร์รัปชัน : “แนวคิดงบประมาณแบบมีส่วนร่วม” แนวคิดที่ไม่ใช่แค่ให้สิทธิ์ในการตรวจสอบ แต่เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมนับตั้งแต่กระบวนการร่างงบประมาณ

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย I ในสังคมที่มีความร่วมมือหรือความไว้เนื้อเชื่อใจกันสูง รัฐจะสร้างประโยชน์จากข้อค้นพบนี้อย่างไร ?

มุมมองของประชาชนต่อหน่วยงานรัฐ หนึ่งกลุ่มจ่ายภาษี อีกกลุ่มเข้ามาทำหน้าที่พัฒนาบริการสาธารณะให้เกิดประโยชน์ แต่มีหลายครั้งที่โครงการไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น ศาลาสร้างทิ้งไว้ไม่มีคนใช้ จนบางครั้งประชาชนต้องลงแรงทำกันเอง

การบูรณาการการใช้จ่ายงบประมาณร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ: กรณีศึกษางบประมาณเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม

ศึกษาการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ และแนวทางบูรณาการการใช้จ่ายงบประมาณระหว่างหน่วยงาน เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการใช้จ่ายงบประมาณ