KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | การต่อต้านการทุจริตอาจต้องเริ่มที่ความเข้าใจของประชาชน

ผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสิทธิการรับรู้ข่าวสารของสำนักงาน ป.ป.ช. จำนวน 1,041 คน ในปี 2562 ชี้คนไทยครึ่งประเทศไม่รู้ว่า ตัวเองมีสิทธิเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักงาน ป.ป.ช.
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : การแจ้งเบาะแส เทคโนโลยี และการแก้คอร์รัปชัน

กระบวนการต่อต้านคอร์รัปชันของประเทศไทยและทั่วโลกในปัจจุบันกำลังพยายามผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชันผ่านการแจ้งเบาะแส สังเกตได้จากงานเสวนาในหัวข้อ Unmasking Corruption, Empowering Whistleblowers ที่จัดขึ้นโดย OECD เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2567 ณ กรุงปารีส
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : หากเงินซื้อความปลอดภัยได้ แล้วเงินเท่าไหร่ถึงจะซื้อความปลอดภัยที่มากพอสำหรับผู้หญิง

หนึ่งใน Content การเงินที่อาจจะเคยผ่านตาผู้อ่านมาบ้างตั้งแต่เด็กจนโต คือ เนื้อหาเกี่ยวกับการออมเงิน การแบ่งเงินจากรายรับเพื่อเป็นเงินเก็บ หากโตขึ้นหน่อยก็เป็นการแบ่งเพื่อไปลงทุนและการลงทุนสำหรับส่วนที่เหลือสำหรับจ่ายค่าใช้จ่ายจำเป็นต่างๆ โดยค่าใช้จ่ายหลักที่ถือว่าเป็นส่วนใหญ่ของรายรับทั้งหมดคือ “ค่าที่อยู่อาศัย”
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ต่อต้านคอร์รัปชันอย่างไร ให้กลายเป็นประเทศที่โปร่งใสเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ?

“ประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้” ประเทศจากเอเชียเพียงไม่กี่ประเทศที่มีความโปร่งใสอยู่ในดับต้น ๆ ของโลก คำถามคือ พวกเขาประสบความสำเร็จแบบนั้นได้อย่างไร ?
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | 4 แนวทางปลดล็อก “ผู้แจ้งเบาะแส” สู่สังคมที่โปร่งใส

กลไกการแจ้งเบาะแส (Whistleblowing)” คือ หนึ่งในกลไกสำคัญในการต่อต้านการทุจริตโดยมี “ผู้แจ้งเบาะแส” เป็นกุญแจสำคัญ แต่ความเป็นจริงแล้วการสนับสนุนให้คนเข้ามาแจ้งเหตุเป็นเรื่องยากมาก จะมีอะไรบ้าง มาดูกัน
การศึกษาวิจัยประเมินประสิทธิภาพของผู้แจ้งเบาะแส

ปัญหาของกระบวนการแจ้งเบาะแสในประเทศไทยอาจเกิดจากมาตราการส่งเสริมการแจ้งเบาะแสที่ไม่เหมาะสมกับความต้องการของผู้แจ้งเบาะเเสในด้านความความปลอดภัย และแรงจูงใจในการแจ้งเบาะแส
บทความวิจัย | มาตรการในการให้ความคุ้มครองข้าราชการผู้ใช้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ

คดีเกี่ยวกับการคอร์รัปชันในวงราชการก่อให้เกิดผลเสียต่อการบริหารของรัฐ เพื่อสนับสนุนให้พยานที่เป็นข้าราชการกล้าเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อหน้าที่การงานของผู้ให้ข้อมูล
บทความวิจัย | การป้องกันการทุจริต: พยาบาลกับการแจ้งเบาะแสในหน่วยบริการสุขภาพ

การแจ้งเบาะแสของบุคลากรในหน่วยสุขภาพหรือระบบสุภาพเป็นการป้องกันการทุจริต และยังช่วยให้เกิดความโปร่งใสและความน่าเชื่อถือในการทำงาน ในการดำเนินการควรมีแนวทางส่งเสริมการแจ้งเบาะแสโดยการปกป้องผู้แจ้งให้เกิดความปลอดภัย และไม่เกิดความยากลำบากในการปฏิบัติงานต่อไป