บทความวิจัย | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินคดีของผู้พิพากษาทางอาชญา: มุมมองของนักศึกษาในกรุงพนมเปญ

ผู้พิพากษาเป็นผู้มีบทบาทในระบบตุลาการในการสร้างความยุติธรรมและกฎหมายให้เกิดขึ้นในสังคม โดยงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในกรุงพนมเปญต่อปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินคดีอาญา

 

โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วม 3 แห่ง ได้แก่ Build Bright University, Royal University of Phnom Penh และ University of Cambodia กลุ่มที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษา จำนวน 391 คน 

 

ผลการวิจัย พบว่า ความรู้ในเรื่องกฎหมายของผู้พิพากษา มีอิทธิพลมากที่สุดต่อการพิจารณาคดีอาญาในกัมพูชา กล่าวคือ ยิ่งผู้พิพากษามีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายมากเท่าไหร่ การตัดสินคดียิ่งมีความน่าเชื่อถือและเป็นธรรมมากขึ้นเท่านั้น ในขณะที่ความคิดเห็นของประชาชน อิทธิพลทางการเมือง และการทุจริตมีผลกระทบต่อการตัดสินคดีน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญ

 

ผู้เขียนได้เสนอแนะให้มีการปรับปรุงระบบกฎหมายให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการของประชาชน  อีกทั้งควรเพิ่มความรู้เกี่ยวกับระบบตุลาการในหลักสูตรการศึกษาของนักศึกษา และเผยแพร่ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการทางกฎหมายให้ประชาชนเข้าใจมากขึ้น

เอกสารอ้างอิง

รูปแบบ APA

ปิยะ นาควัชระ. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินคดีของผู้พิพากษาทางอาชญา: มุมมองของนักศึกษาในกรุงพนมเปญ. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 15(1), 45-59.

ปีที่แต่ง (พ.ศ.)
2566
ผู้แต่ง

ปิยะ นาควัชระ

วารสารที่ตีพิมพ์

หัวข้อ
Related Content

โครงการศึกษาเรื่องการแสวงหาผลประโยชน์จากการอนุญาตโดยใช้อำนาจรัฐ

ศึกษาการตรวจสอบดุลพินิจของฝ่ายปกครองในการออกใบอนุญาต และศึกษากฎหมายต่างประเทศเพื่อเสนอแนะมาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากการอนุญาตโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ

โครงการพัฒนากฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริต

เพื่อศึกษาเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 244 มาตรา 245 ประกอบมาตรา 221 เกี่ยวกับการวางระบบการร่วมมือกันทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดมาตรการ และวิธีการทำงานร่วมมือกันของ
องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล

You might also like...

KRAC Extract | คอร์รัปชันหลังเเผ่นดินไหว: โอกาสแห่งการฟื้นตัวหรือประตูสู่การทุจริต

คอร์รัปชันหลังแผ่นดินไหว…เมื่อเงินฟื้นฟูหลั่งไหล แต่ความโปร่งใสกลับหายไป! กรณีศึกษาจากตุรกี ที่เผยให้เห็นว่าภัยพิบัติอาจเปิดช่องให้การทุจริตแทรกซึมได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการจัดการหลังภัยพิบัติ บทเรียนนี้ไม่ใช่แค่ของต่างประเทศ แต่คือสัญญาณเตือนที่ไทยก็ต้องระวังเช่นกัน!

KRAC Hot News I การท่องเที่ยวไทยสูญเสียอะไรให้กับการคอร์รัปชัน?

ในช่วงสงกรานต์ที่หลายคนออกเดินทางท่องเที่ยวหรือกลับบ้าน เราอยากชวนคุณมามอง “การท่องเที่ยวไทย” ในมุมที่อาจไม่ค่อยถูกพูดถึง นั่นคือ การคอร์รัปชัน ด้วยข้อมูลวิจัยและกรณีศึกษาที่ชี้ให้เห็นว่าปัญหาการคอร์รัปชันมีผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทยมากกว่าที่คิด

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | การใช้ e-bidding เพื่อแก้ปัญหาคอร์รัปชันในโครงการจัดซื้อจัดจ้าง มีประสิทธิภาพมากแค่ไหน ?

ชวนสำรวจ e-bidding : เทคโนโลยีการจัดซื้อจ้างออนไลน์ลดคอร์รัปชัน โดยจะพาไปดูผลการใช้งานระบบจริงจากทั้ง 3 กรมว่าเป็นอย่างไร ? แล้วเราจะทำอย่างไรให้ระบบ e-bidding มีประสิทธิภาพมากขึ้น