บทความวิจัย | การพัฒนาคู่มือแนวทางการนําหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้สําหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา

แนวทางในการส่งเสริมหลักสูตรด้านคุณธรรมจริยธรรมเพื่อต่อต้านการทุจริตในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา ควรมีการกําหนดหลักการ กระบวนการ และแนวปฏิบัติอย่างชัดเจน และควรมีแผนการเรียนรู้และสื่อการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนในสถานศึกษา 

 

การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน  เพื่อนำไปออกแบบและสร้างคู่มือแนวทางการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา 

 

โดยวิธีการศึกษาแบบสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพและแนวทางในการส่งเสริมและหลักสูตรด้านคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา การออกแบบคู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา และการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของคู่มือฯ จากการสำรวจความพึงพอใจด้วยแบบสอบถามในสถานศึกษาที่ได้ทดลองใช้คู่มือฯ ที่ได้รับการออกแบบ

 

ผลจากการศึกษา ได้องค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยและพัฒนา เรื่อง การพัฒนาคู่มือแนวทางการนําหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ สําหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา และได้เทคนิคการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนในสถานศึกษา

 

สำหรับข้อเเนะเชิงนโยบาย ระบุว่า ควรสนับสนุนให้ครูผู้สอนร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือว างแผนและเตรียมจัดทํากิจกรรมเพื่อนําคู่มือที่พัฒนาขึ้นไปใช้ให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงควรจัดให้มีการนิเทศติดตามและประเมินผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องภายในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และแลกเปลี่ยนสะท้อนคิดร่วมกัน

 
เอกสารอ้างอิง

รูปแบบ APA

สันติ ทองแก้วเกิด. (2565). การพัฒนาคู่มือแนวทางการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้สำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา. วารสารวิจยวิชาการ, 6(4), 307–324.

ปีที่แต่ง (พ.ศ.)
2565
ผู้แต่ง

สันติ ทองแก้วเกิด

วารสารที่ตีพิมพ์

หัวข้อ
Related Content

โครงการวิจัยและประสานงานเพื่อสังคมไทยไร้คอร์รัปชัน

เพื่อออกแบบงานวิจัยสำหรับแก้ไขปัญหาคอร์รัปชันบนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงพัฒนาระบบและเครื่องมือใหม่ในการป้องกันและลดคอร์รัปชันในระดับพื้นที่

โครงการวิจัยเพื่อสังคมไทยไร้คอร์รัปชัน ระยะที่ 2

จัดทำข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อต่อต้านการคอร์รัปชัน โดยเน้นแนวทางการวิจัยเพื่อทำความเข้าใจปัญหาคอร์รัปชันจากมุมมองของประชาชน ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (PAR) และกระบวนการ Design Thinking เต็มรูปแบบ

โครงการวิจัยการสังเคราะห์รูปแบบ กลไกและแนวทางการปลูกฝังเจตคติและวัฒนธรรมสุจริตเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ศึกษาพัฒนาการของรูปแบบ กลไก และแนวทางการปลูกฝังเจตคติ และวัฒนธรรมสุจริตที่มีผลต่อการป้องกันการทุจริตของไทย และศึกษากรณีของต่างประเทศ เพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอแนะต่อไป

You might also like...

แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : บทเรียนจากตึก สตง.: จริยธรรมและความโปร่งใสแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ

เหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดในรอบร้อยปีของประเทศไทย ได้สร้างความเสียหายและความสูญเสียในหลายพื้นที่ ผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ที่สูญเสียและทุกคนที่ได้รับผลกระทบจากภัยครั้งนี้

KRAC Insight | ปฏิรูปวงการพลังงานไทยให้ถึงฝัน ชวนรู้จัก “การแสวงหาค่าเช่า” ในอุตสาหกรรมพลังงานไทย

KRAC ชวนทุกท่านร่วมเจาะลึกเกี่ยวกับโครงสร้างของอุตสาหกรรมพลังงานไทย และทำความเข้าใจกับค่าเช่าและผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการปฏิรูปพลังงานที่ความโปร่งใสและยั่งยืนของไทย

KRAC Insight | PEPs: ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ สู่การสร้างข้อมูลเพื่อแก้ไขคอร์รัปชันข้ามชาติ

KRAC ชวนดูข้อเสนอต่อเเนวทางการดำเนินงานตาม PEPs จากทีม Open Data เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของ Data standard และตัวอย่างการใช้ชุดข้อมูล PEPs สำหรับสื่อมวลชน