การสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย ตอนที่ 3 เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงต่อการทุจริตฯ การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
จัดทำโดย
คลิปความรู้จากสำนักงาน ป.ป.ช. เรื่อง การสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย ตอนที่ 3 เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงต่อการทุจริตฯ การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
ปัญหาการทุจริตเชิงนโยบาย เป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ และสร้างความเสียหายแก่ประเทศอย่างมหาศาล ผ่านระบบการทุจริตที่มีการจัดการอย่างซับซ้อนและแยบยล ด้วยการออกนโยบายหรือออกกฎหมาย เพื่อทำให้กระบวนการทุจริตเป็นไปโดยชอบ ด้วยเหตุนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เล็งเห็นถึงความรุนแรงและความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการศึกษาและกำหนดเครื่องมือหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงต่อการทุจริตเชิงนโยบาย”
โดยในคลิปนี้ได้นำเสนอเกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงต่อการทุจริตเชิงนโยบายในขั้นตอนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ มีเป้าหมายเพื่อให้การดำเนินนโยบายผ่านโครงการหรือแผนงาน ของหน่วยงานรัฐ เป็นไปด้วยความโปร่งใสและ สามารถส่งมอบผลลัพธ์การให้บริการสาธารณะสู่สังคมให้มากที่สุด
มาดูกันว่า เครื่องมือนี้จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการทุจริตเชิงนโยบายในขั้นตอนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติได้อย่างไร ?
ผู้ที่สนใจสามารถติดตามสื่อความรู้ด้านการต่อต้านคอร์รัปชันได้ที Youtube Channel : @NACCThailandofficial
- ไทย
- บุคคลทั่วไปที่สนใจ
- 3 นาที 56 วินาที
- Video
ดีลลับ พรรคพวก ? เครือข่ายทางการเมืองที่น่าสังเกตใน 4 รัฐบาล | Hidden Agenda EP 5 [สนับสนุนโดยกองทุน ป.ป.ช.]
เคยสังเกตมั้ยว่าในรัฐสภามีทั้งผู้ที่ดำรงตำแหน่งทั้งแบบเครือญาติแล้วก็ทั้งจากพี่น้องร่วมสถาบันเดียวกัน ?
การเมืองสีขาว – “ระบบอุปถัมภ์” ภัยร้ายคอร์รัปชันต่อการพัฒนาประเทศ ต้องแก้อย่างไร | TPchannel podcast
Podcast จากรายการการเมืองสีขาว: ชวนฟัง ผศ.ดร ต่อภัสสร์ ยมนาค พูดคุยเรื่อง “ระบบอุปถัมภ์” ภัยร้ายคอร์รัปชันต่อการพัฒนาประเทศ ต้องแก้อย่างไร
การสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย ตอนที่ 3 เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงต่อการทุจริตฯ การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
คลิปความรู้จาก สํานักงาน ป.ป.ชว. : เมื่อได้รัฐบาลที่จะเป็นผู้นำนโยบายไปสู่การปฎิบัติเเล้ว หน่วยงานรัฐก็จะเป็นผู้รับนโยบายไปทำให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งก็จะต้องมีการป้องกันการทุจริตในขั้นตอนนี้เช่นกัน