knowledge Video

สรุปผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โครงการออกแบบและทดลองต้นแบบรัฐสภาแบบเปิดกับการสร้างความโปร่งใส

เลือกตั้งผ่านไปแล้วเกือบ 2 ปี คุณรู้หรือไม่ว่า “ตัวแทนของคุณ” ทำอะไรไปแล้วบ้าง ?
 
ข้อมูลเหล่านี้อยู่ที่ไหน จะหาเจอได้อย่างไร
 
ในต่างประเทศ “Open Data” หรือ “ข้อมูลเปิดเผย” ของภาครัฐมีความสำคัญที่จะส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใส และให้ประชาชนสามารถติดตามตรวจสอบได้ โดยเฉพาะ #ข้อมูลที่เกี่ยวกับนักการเมืองและการทำหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ”และถ้าหาก “รัฐสภาไทย” อยากจะเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับ ส.ส. และงานด้านนิติบัญญัติบ้าง จะต้องเริ่มจากข้อมูลแบบไหน และควรจะออกแบบ Platform อย่างไรเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม และทำให้ประชาชนสนใจรัฐสภามากที่สุด
 
ร่วมออกแบบและหาคำตอบจากการทดลองร่วมกับ ELECT  ได้ที่  They Work For Us รู้จักและติดตาม ‘ผู้แทน’ ในสภาของเรา (elect.in.th)
ภาษา
  • ไทย
เหมาะกับใคร
  • บุคคลทั่วไปที่สนใจ
ระยะเวลาในการเรียนรู้
  • 9 นาที 47 วินาที
รูปแบบการเรียนรู้
  • ผ่านวิดีโอ
ประเด็นหัวข้อที่สำคัญ
Related Content

สรุปผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โครงการออกแบบและทดลองต้นแบบรัฐสภาแบบเปิดกับการสร้างความโปร่งใส

ร่วมออกแบบ Platform เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม และทำให้ประชาชนสนใจรัฐสภามากที่สุด ไปกับทีม SIAM Lab ร่วมกับ ELECT ในงานวิจัยเรื่อง รัฐสภาแบบเปิดกับการสร้างความโปร่งใส (Open Parliament and Comprehensive Transparency)

ลดคอร์รัปชันได้ ถ้ารัฐสภาไทยเปิดข้อมูลให้เข้าถึงง่าย | Hidden Agenda EP 4 [สนับสนุนโดยกองทุน ป.ป.ช.]

ทำไมเราถึงเข้าถึงข้อมูลรัฐสภาไทยยากจัง… ตอนไปเลือกตั้งเราเคยรู้มั้ยว่านักการเมือง ผู้แทนฯ หรือ ส.ส. ที่เรากำลังจะเลือกเขาไปทำหน้าที่แทนเรานั้นเขามีผลงานอะไรบ้าง หรือทำตามที่เคยให้สัญญากับเราไว้แค่ไหน ?

ดีลลับ พรรคพวก ? เครือข่ายทางการเมืองที่น่าสังเกตใน 4 รัฐบาล | Hidden Agenda EP 5 [สนับสนุนโดยกองทุน ป.ป.ช.]

เคยสังเกตมั้ยว่าในรัฐสภามีทั้งผู้ที่ดำรงตำแหน่งทั้งแบบเครือญาติแล้วก็ทั้งจากพี่น้องร่วมสถาบันเดียวกัน ?

You might also like...