Free Course - e-Certificate
ห้องเรียนออนไลน์ | Virtual Museum
จัดทำโดย
หัวข้อการเรียนรู้
- การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นการทำความเข้าใจ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม วิธีคิดแบบฐาน 10 (Analog Thinking) /ฐาน 2 (Digital Thinking) และการคิดแบบไหน..ไม่ทุจริต
- ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาทุจริต การทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ รวมไปถึงสามารถของการที่ทำให้เกิดการทุจริต และการทุจริตในประเทศไทย โดยให้ผู้เรียนเข้าใจขผลกระทบของการทุจริต การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
- พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความหมายของพลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย ความแตกต่างระหว่างราษฎร และความเป็นพลเมือง แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี
- STRONG / จิตพอเพียงต่อการต้านทุจริต มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG Model ที่ประกอบไปด้วยคำสำคัญ 3 คำ ได้แก่ จิต พอเพียง ต้านทุจริต ซึ่งการที่จะมีจิตพอเพียงต้านทุจริต ต้องเป็นจิตที่มีความแข็งแกร่ง จึงทำให้เชื่อมโยงไปถึงคำภาษาอังกฤษ คำว่าา Strong โดยในแต่ละตัวอักษรจะประกอบไปด้วยความหมายที่แตกต่างกัน เพื่ออธิบายความหมายจองจิตพอเพียงต่อการต้านทุจริต ครบถ้วนสมบูรณ์
การประเมินผล
- ท่านจะได้รับประกาศนียบัตร เมื่อมีผลการทดสอบมากกว่า 70 %
ภาษา
- ไทย
เหมาะกับใคร
- เจ้าหน้าที่รัฐ
- บุคคลทั่วไปที่สนใจ
ระยะเวลาในการเรียนรู้
- 30 วัน
รูปแบบการเรียนรู้
- Self-Learning
- e-Certificate
ประเด็นหัวข้อที่สำคัญ
Related Content
ห้องเรียนออนไลน์ | Virtual Museum
หัวข้อการเรียนรู้ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นการทำความเข้าใจ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม วิธีคิดแบบฐาน 10 (Analog Thinking) /ฐาน 2 (Digital Thinking) และการคิดแบบไหน..ไม่ทุจริต
หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมไม่ทนต่อการทุจริต (พ.ศ.2561)
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
หลักสูตรการป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ | สำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล สำนักงาน ป.ป.ช.
เพื่อสร้างเสริมความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่รัฐเเละผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการขัดกันเเห่งผลประโยชน์ ประกอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กรณีศึกษา และเเนวทางปฎิบัติเพื่อป้องกันการขัดกันเเห่งผลประโยชน์