หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมไม่ทนต่อการทุจริต (พ.ศ.2561)
จัดทำโดย
หลักสูตรวิทยากรผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเสริมสร้างทัศนคติที่ถูกต้องให้กับผู้ที่จะเป็นวิทยากร เกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การเป็นผู้ที่มีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต และการประยุกต์ใช้โมเดล STRONG รวมถึงแนะนำเทคนิควิธีการเป็นวิทยากรที่ดี ประกอบด้วยรายวิชา ดังนี้
หัวข้อการเรียนรู้
- วิชาที่ 1 เรื่อง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
- วิชาที่ 2 เรื่อง ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
- วิชาที่ 3 เรื่อง การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
วิชาที่ 4 เรื่อง การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร
การประเมินผล
- ได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.
- ไทย
- บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ
- 10 ชั่วโมง
- Self-Learning
- e-Certificate
ห้องเรียนออนไลน์ | Virtual Museum
หัวข้อการเรียนรู้ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นการทำความเข้าใจ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม วิธีคิดแบบฐาน 10 (Analog Thinking) /ฐาน 2 (Digital Thinking) และการคิดแบบไหน..ไม่ทุจริต
หลักสูตรโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต พ.ศ. 2561 | ส่วนที่ 2 การเรียนรู้ด้านการป้องกันการทุจริต
หลักสูตรเพื่อการรู้คิดต้านทุจริตนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต พัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน
หลักสูตรโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต พ.ศ. 2561 | ส่วนที่ 1 การสร้างโค้ช
หลักสูตรเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชรู้คิดต้านทุจริตให้กับผู้เรียน