คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : รักต้องเปิด : ถ้าแน่นอกคงต้องเปิด(ข้อมูล)ออก

มีข้อจำกัดอะไรที่ทำให้การเข้าถึงข้อมูล เช่นข้อมูลบัญชีทรัพย์สินหนี้สินนักการเมืองที่ตอนนี้มีการเปิดเผยอยู่บนเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือสำนักงาน ป.ป.ช. (asset.nacc.go.th/dcs-app) และทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ?

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เพราะข้อมูลนักการเมืองเป็นเรื่องของทุกคนที่จะเปิดให้โปร่งใส

ทำไมนักการเมืองบางคนถึงมีทรัพย์สินหลักร้อยพันล้าน นาฬิกาแบรนด์หรูอีกหลายสิบเรือน ทั้ง ๆ ที่เงินเดือนหลักหมื่นหลักแสน ?
ทุกคนคงเคยตั้งคำถามกับสิ่งนี้ ซึ่งจริง ๆ แล้วประชาชนอย่างเราก็มีสิทธิ์ที่และควรที่จะตรวจสอบข้อมูลเหล่านั้นได้

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : ประชาชนอยู่ตรงไหนในรัฐสภาของ ‘ประชาชน’

หากพิจารณาดี ๆ เราจะเห็นได้ว่ากระบวนการในรัฐสภามีเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ประชาชนไม่ได้ร่วมกำหนดขึ้น และมีบางสิ่งที่เกี่ยวข้องกับประชาชนแต่ไม่ได้ถูกออกแบบโดยมีประชาชนเป็นส่วนหนึ่งในนั้น แล้วรัฐสภาแห่งนี้ยังคำนึงถึงประชาชนอยู่หรือไม่ ?

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : Lift สัญญาเปิด Less ปัญหาเมือง กับกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพจะแก้ปัญหาเมือง และมีแนวทางการยกระดับการจัดซื้อจ้างของกรุงเทพให้มีประสิทธิภาพ และมีความโปร่งใสได้อย่างไร ?

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : ‘เปิด’ เพื่อ ‘เปลี่ยน’ ภาครัฐยิ่งเปิดข้อมูล ประชาชนยิ่งช่วยเปลี่ยนสังคม

ถ้าทุกคนอยากรู้ว่า จากคดีการยิงตำรวจเสียชีวิต นำมาสู่การพบข้อมูลเรื่องฮั้วประมูลได้อย่างไร ? และข้อมูลอะไรที่ทำให้พบว่าคดีนี้มีอะไรซ่อนอยู่เบื้องหลัง ชวนหาคำตอบได้ในบทความคิดด้วยพลเมือง

ลงมือสู้โกง : นักการเมืองเลว” แล้วใครดี ?

ช่วงนี้เวทีการเมืองกำลังคึกคักเพราะอีกแค่ 18 วันก็จะถึงการเลือกตั้งที่หลายคนรอมานานกว่าสี่ปี และนอกจากการหาเสียงด้วยนโยบายของหลายพรรค หนึ่งสิ่งที่ขาดไม่ได้เมื่อมีการเลือกตั้งคือ “วาทกรรมทางการเมือง”

ลงมือสู้โกง : MOU ก้าวไกล – คอร์รัปชันไทยไม่เหมือนเดิม ?

MOU ทั้ง 3 ข้อและ 1 แนวทาง ระหว่างพรรค (ที่คาดว่าจะร่วมรัฐบาล) ทั้ง 8 พรรค จะแก้ปัญหาคอร์รัปชันอย่างไร ซึ่งในข้อตกลง มีประเด็นเรื่องของการต่อต้านคอร์รัปชันที่น่าสนใจอยู่ด้วย 3 ข้อ

ลงมือสู้โกง : เปิดไม่โปร่ง ข้อมูลภาครัฐยังเร้นลับจริงไหม ?

ชวนร่วมล่าท้าข้อมูลรัฐ… ปัจจุบัน ข้อมูลถือเป็นสิ่งที่สำคัญโดยเฉพาะข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government) เพราะถ้ามีการเปิดข้อมูลที่ดีประชาชนก็จะสามารถรับรู้ข้อมูล และเข้ามามีส่วนร่วมกับการบริหารจัดการได้