แนวทางการเสริมสร้างธรรมาภิบาลท้องถิ่นและการเฝ้าระวังติดตามการคอร์รัปชันโดยชุมชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษา : พื้นที่อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

เพื่อศึกษาบริบทของชุมชน ทุนทางสังคม และสถานการณ์ธรรมาภิบาลและการคอร์รัปชันในระดับพื้นที่ รวมถึงระบบและกลไกทางสังคมต่อการจัดการ และป้องกันปัญหาโดยชุมชนมีส่วนร่วม

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : สำรวจผลงานไทย 12 ชิ้น ดัน Rookies เดบิวต์สู่วงการต้านโกง

“KRAC” ศูนย์กลางความรู้ เครือข่าย และนวัตกรรมที่จะช่วยให้เราเป็นนักต่อต้านคอร์รัปชันมืออาชีพได้จากรวบรวมงานวิจัยไทยด้านการต่อต้านคอร์รัปชันจำนวนมาก รวมถึงสื่อการเรียนการสอน และเครื่องมือที่ในการสอดส่องการคอร์รัปชัน แต่มาทำให้เข้าถึงง่าย และใช้ประโยชน์ได้ทันที
.

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : The Single Age: เพราะอะไรการแต่งงานมีลูกจึงไม่ใช่คำตอบของคนยุคใหม่?

ในชีวิตของใครหลายๆ คนคงเคยถูกถามด้วยประโยคเหล่านี้กันใช่ไหม เพราะถ้าพูดถึงการแต่งงานก็ถือได้ว่าเป็น “ความฝัน” ของใครหลายๆ คน และเป็นค่านิยมที่สังคมให้ความสำคัญมาตั้งแต่ยุคก่อน งานแต่งจึงเปรียบเสมือนเป้าหมายสำคัญในชีวิตเลยก็ว่าได้

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : อาณานิคม คอร์รัปชัน และความร่วมมือด้านการต่อต้านคอร์รัปชันระดับอาเซียน

วางรากฐานการต่อต้านคอร์รัปชันผ่านการสร้างความร่วมมือในระดับภูมิภาค ชวนสำรวจการต่อต้านคอร์รัปชันของประเทศในอาเซียนว่ามีความคืบหน้าอย่างไร

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เมื่อฉันมีส่วนร่วมกับสังคม ฉันจึงเป็นศิลปะ

“ศิลปะ” ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารและแสดงออก ความผูกพันของมนุษย์และศิลปะมีมายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยเห็นได้จากภาพเขียนสีและการขูดขีดบนผนังถ้ำที่ถูกใช้เพื่อบันทึกเรื่องราวของมนุษย์ในยุคนั้น

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : กันโกงฉบับกรมการท่องเที่ยว x กทม.

เพียงแค่ครึ่งปีแรกของปี 2566 ก็ได้มีกองถ่ายทำภาพยนตร์จากต่างประเทศเข้ามาลงทุนถ่ายทำในบ้านเรามากถึง 246 เรื่อง ทำให้ไทยมีรายได้จากกองถ่ายต่างประเทศมากถึง 2,334 ล้านบาท แต่ทุกคนรู้หรือไม่ว่า ในจำนวนเงินมหาศาลนี้ดันมีปัญหาการทุจริตเกิดขึ้นในกระบวนการขออนุญาตถ่ายทำภาพยนตร์ในไทยด้วย

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : ภาษา : อาวุธเงียบต้านคอร์รัปชัน

แค่เปลี่ยนการสื่อสาร ก็เปลี่ยนความรู้สึกที่มีกับการต่อต้านคอร์รัปชัน คุณคิดว่าคอร์รัปชันเปรียบเหมือน “โจร” หรือ “โรคร้าย” ? งานวิจัยจากนักวิชาการด้านภาษาศาสตร์บอกไว้ว่าอิทธิพลของภาษาส่งผลต่อการรับรู้ปัญหาคอร์รัปชันของสังคม