ต่อต้านคอร์รัปชันให้ได้ผล ต้องมี “ประชาชน” เป็นศูนย์กลาง

ปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร คือ การละเลยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาการคอร์รัปชันแบบล่างขึ้นบน (Bottom-Up) …

แล้วที่ผ่านมาเราต่อต้านคอร์รัปชันกันยังไง

“คอร์รัปชัน” และ “การต่อต้านคอร์รัปชัน” ได้ถูกศึกษาและอธิบายถึงลักษณะและความหมายในแต่ละช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านประเด็นและมุมมองที่มีต่อปัญหาผ่านแนวคิดที่หลากหลาย …

ผศ. ดร.ต่อภัสสร์ ยมนาค ผู้อำนวยการศูนย์ KRAC ร่วมบรรยายในโครงการนักยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุ่นที่ 15

เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้บริหารในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้สอดรับกับความท้าทายในยุคปัจจุบัน

ผศ. ดร.ต่อภัสสร์ ยมนาค เป็นตัวแทนขับเคลื่อนวงการต่อต้านคอร์รัปชันในโครงการ “Eisenhower Fellowships Global Program Fellows 2024”

ผู้อำนวยการศูนย์ KRAC ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนจากโครงการ “Eisenhower Fellowships Global Program Fellows 2024” โดย Eisenhower Fellowships (EF) องค์กรเอกชนไม่แสวงผลกำไรในสหรัฐฯ ในการเป็นตัวแทนร่วมพูดคุยกับผู้นำระดับนานาชาติในสาขาที่เชี่ยวชาญ

งานประชุมระดับชาติ ครั้งที่ 2 หัวข้อย่อยที่ 2 เรื่อง ความท้าทายและโอกาสในการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การ ทุจริต (CORRUPTION PERCEPTIONS INDEX: CPI) ของประเทศไทยอย่างมีส่วนร่วม

สรุปความน่าสนใจจากการเสวนาในประเด็นความท้าทายและโอกาสในการยกระดับคะแนน CPI ปัญหาที่ผ่านมาคืออะไร ? เราจะแก้ปัญหาคอร์รัปชันเพื่อยกระดับ CPI ของประเทศไทยได้อย่างไร ?

งานประชุมระดับชาติ ครั้งที่ 2 หัวข้อย่อยที่ 1 เรื่อง Unveiling the Dynamics: Anti-Corruption Trends and Intriguing Research in 2024

เทรนด์วิชาการต่อต้านคอร์รัปชัน 2024 มีอะไรน่าสนใจบ้าง ? เพื่อหาแนวทางใหม่ ๆ ในการต่อต้านและป้องกันไม่ให้การคอร์รัปชันเกิดขึ้น