บทความวิจัย | มาตรการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินที่ได้มาจากการกระทําความผิดเกี่ยวกับการทุจริต

พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ควรมีการแก้ไขการกําหนดความผิดของการกระทำทุจริตเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการบังคับใช้และครอบคลุมการทุจริตต่อหน้าที่ทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงควรกําหนดกฎกระทรวงที่มีตารางรายชื่อความผิดซึ่งเกิดจากการทุจริตไว้
บทความวิจัย | อายุความในการกล่าวหาเจ้าหน้าที่รัฐในคดีทุจริต

อายุความในการกล่าวหาเจ้าหน้าที่รัฐในคดีทุจริต พบว่า ระยะเวลา 5 ปีตามกฎหมายในปัจจุบันไม่เพียงพอต่อการรวบรวมพยานหลักฐาน ดังนั้นจึงควรแก้ไขด้วยเพิ่มระยะเวลาโดยพิจารณาจากการนำบทกฎหมายที่มีการกำหนดเช่นเดียวกันมาเทียบเคียง
บทความวิจัย | มาตรการปราบปรามการทุจริตด้วยกฎหมายภาษี

การศึกษามาตรการปราบปรามการทุจริตด้วยกฎหมายภาษี พบว่า การนำมาตรการทางภาษีมาใช้จะสามารถเป็นเครื่องมือเสริมมาตรการทางอาญา และสามารถลดแรงจูงใจในการทุจริตและป้องกันความปลอดภัยของผู้แจ้งเบาะแสได้
บทความวิจัย | บทบาทของพนักงานอัยการกับการตรวจสอบในกระบวนการยุติธรรม: ศึกษาเฉพาะการดำเนินคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

จากการศึกษาเสนอว่าควรแก้ไขกฎหมาย ให้คณะกรรมการป.ป.ช.ดําเนินการไต่สวนร่วมกับอัยการสูงสุด และให้อัยการสูงสุดมีอิสระในการใช้ดุลพินิจเพียงองค์กรเดียวในการสั่งคดีโดยมีคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้มีอํานาจตรวจสอบถ่วงดุลอํานาจ เพื่อยกระดับการดำเนินคดีอาญาในนักการเมือง
KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I EU ถกหนัก เตรียมคว่ำบาตร บุคคลและองค์การที่ทุจริต ทั้งห้ามเข้าประเทศและยึดทรัพย์

ร่างกฎหมายคว่ำบาตรต่อต้านทุจริตของสหภาพยุโรป มาตรการที่มีประสิทธิผล หรือเป็นเเค่ยาปฏิชีวนะทางการเมือง ?
บทความวิจัย | รัฐบัญญัติป้องกันการทุจริตบทที่ 241 ของประเทศสิงคโปร์: ข้อสังเกตว่าด้วยองค์ประกอบการทุจริตการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการป้องกันการทุจริต

การศึกษาการพิจารณาการกระทำความผิดฐานทุจริตของประเทศสิงคโปร์ พบว่า การพิจารณาความผิดจะพิจารณาประเด็นด้านองค์ประกอบการทุจริตและเจตนาของการกระทำความผิด
Click KRAC Click Clip: พาส่อง Public Lecture ในหัวข้อ “การประเมินและแก้ไขปัจจัยเสี่ยงด้านคอร์รัปชันในกระบวนการนิติบัญญัติ” โดย Tobias A. Dorsey

การทุจริตเป็นภัยเงียบที่แทรกซึมเข้าสู่กระบวนการออกกฎหมายได้โดยไม่รู้ตัว แล้วสามารถป้องกันหรือแก้ไขได้หรือไม่ ? KRAC มีคำตอบมาให้คุณกับงาน Public Talk ในหัวข้อการประเมินและแก้ไขปัจจัยเสี่ยงด้านคอร์รัปชันในกระบวนการนิติบัญญัติ
KRAC Public Lecture | การประเมินและแก้ไขปัจจัยเสี่ยงด้านคอร์รัปชันในกระบวนการนิติบัญญัติ (Assessing and Addressing Corruption Risk Factors in Legislation)

รู้หรือไม่ “การลบทวีตของหน่วยงานรัฐส่งผลต่อความเป็นประชาธิปไตย” อย่างไร ? แล้วมีแนวทางแก้ไขปัญหานี้หรือไม่ ? เรามีคำตอบมาให้คุณกับการบรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญระดับนานาชาติ