แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : ความหวังสู้โกงไทย ปี 2568

ในวันขึ้นปีใหม่ 2568 นี้ นับเป็นโอกาสอันดีที่จะมองย้อนกลับไปถึงความก้าวหน้าในการต่อต้านคอร์รัปชัน และมองไปข้างหน้าถึงความหวังใหม่ๆ ที่กำลังก่อตัวขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งถือเป็นมิติสำคัญในการต่อสู้กับปัญหาทุจริตคอร์รัปชันที่ไม่มีพรมแดน
KRAC จัด 1 Day Workshop โรงเรียนโปร่งใส ร่วมกับโรงเรียนสระกะเทียมวิทยาคม ผลจะเป็นอย่างไร ไปดูกัน

เริ่มที่โรงเรียนเเรก “โรงเรียนสระกะเทียมวิทยาคม” จ.นครปฐม มีอะไรสนุก ๆ เกิดขึ้นบ้าง? และนักเรียนได้อะไรกลับไป? ไปดูกันเลย!
บทความวิจัย | ความเป็นมาในการจัดตั้งคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในประเทศไทย

บทความนี้จะพาไปสำรวจความเป็นมาของการจัดตั้งคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในประเทศไทย ว่ากว่าจะมี สำนักงาน ป.ป.ช. ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีปัญหาและพัฒนาการด้านการต่อต้านคอร์รัปชันอย่างไรบ้าง
บทความวิจัย | มรดกเชิงพลวัตรผ่านกระบวนทรรศน์ทั้งห้ากับการแก้ไขทุจริต: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์และวิธาน

ในมุมมองทางปรัชญา คอร์รัปชันเป็นการทำลายระบบที่มีอยู่อันเป็นอุปสรรคไม่ให้เป็นไปตามระบบที่ควรจะเป็น ซึ่งปัญหานี้สามารถจัดการได้ด้วยแนวทางของปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง
บทความวิจัย | กว่าจะถึงการออกเสียงประชามติ…ก็ยังไม่สายเกินไป

รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 นับเป็นการเปิดโอกาสครั้งแรกให้ประชาชนมีสิทธิประชาธิปไตยทางตรงในการให้ความเห็นชอบ หรือไม่ให้ความเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อควบคุมการใช้อำนาจมิให้หย่อนประสิทธิภาพและควบคุมการเกิดทุจริตคอร์รัปชันได้
บทความวิจัย | การเปิดรับสื่อ ความตระหนัก และทัศนคติที่มีต่อการมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันในเขตกรุงเทพมหานคร

สื่อโฆษณารณรงค์ขององค์กรต่อต้านคอร์รัปชันสัมพันธ์กับพฤติกรรมและการตระหนักรู้ของประชาชน ซึ่งสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายต่อต้านคอร์รัปชันในระดับของการให้และได้รับข้อมูล รวมถึงการสร้างความร่วมมือวางแผนร่วมกัน
KRAC Roundtable | หน่วยงานตรวจสอบทุจริตทำไมทำงานล่าช้า? แล้วภาคประชาชนรู้ไหมว่ามีกฎระเบียบมากมายที่ภาครัฐต้องปฏิบัติตาม?

KRAC ร่วมกับ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ จัดประชุมโต๊ะกลมเพื่อหารือแนวทางผสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาการทุจริตในไทย
บทความวิจัย | มาตรการในการให้ความคุ้มครองข้าราชการผู้ใช้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ

คดีเกี่ยวกับการคอร์รัปชันในวงราชการก่อให้เกิดผลเสียต่อการบริหารของรัฐ เพื่อสนับสนุนให้พยานที่เป็นข้าราชการกล้าเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อหน้าที่การงานของผู้ให้ข้อมูล