เกมแห่งแรงจูงใจ: เมื่อกฎหมายผ่อนผันโทษ (Leniency Law) ถูกมองผ่านทฤษฎีเกม
KRAC ร่วมเจาะลึกเส้นทางการพลิกโฉมของประเทศเอสโตเนียแบบ Insights กับ ผศ. ดร.พีรพัฒ โชคสุวัฒนสกุล อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ชวนเราคิดลึกว่าทำไมกฎหมายแบบนี้จึงซับซ้อน และทำงานเหมือน Prisoner’s Dilemma ที่จูงใจผู้ร่วมขบวนการให้หักหลังกันเอง
ด้วยหลัก 6Cs (Clarity, Commitment, Credibility, Confidentiality, Cooperation & Coordination, Context & Culture) ที่อาจารย์พีรพัฒ สรุปให้ว่า คือหัวใจสำคัญที่จะทำให้โปรแกรมนี้สำเร็จ
และหากจะเกิดขึ้นในไทย เราจำเป็นต้องมีทั้ง One-Stop-Shop, รางวัลผู้แจ้งเบาะแส และระบบยุติธรรมที่คนเชื่อถือได้ เพราะกฎหมายไม่ใช่แค่จับ-ปรับ-จำคุก แต่คือ การออกแบบแรงจูงใจ ให้คนเลือกพูดความจริงมากกว่าปกป้องกันและกัน
ท่านใดที่สนใจสามารถคลิกชมรายการ หรืออ่านบทสรุปประเด็นการพูดคุยได้ที่ลิงก์ด้านล่าง
- Judiciary & Law Enforcement, Anti-Corruption
26 มิถุนายน 2568