KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล

KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้
 
คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย
 
คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง
 
ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย

ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁)

โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเพิ่มอำนาจสูงสุดให้กับคนหนึ่งนั่น ก็คือ “ประธานาธิบดี” และในช่วงตั้งสาธารณรัฐเกาหลีเอง ในปี 1949 ก็มีการจัดตั้งศาลยุติธรรมขึ้นต่อมา ซึ่งเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมืองและนิติบัญญัติด้วย
 
อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวถูกท้าทายอย่างมากหลังช่วงที่เกิดการรัฐประหาร เนื่องจากประธานาธิบดีที่มาจากทหารพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ ในการจำกัดอำนาจของฝ่ายตุลาการ โดยเฉพาะการกำหนดในรัฐธรรมนูญให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาเป็นอำนาจของประธานาธิบดี ประเด็นที่น่าสนใจคือการแทรกแซงทางการเมืองเหล่านี้ไม่ใช่การแทรกแซงทางตรงแต่อย่างใด เป็นลักษณะการแทรกแซงทางอ้อม ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนที่ทำให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจ และนำไปสู่การเดินขบวนประท้วงในที่สุด
 
โดยในปี 1987 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของระบอบการเมืองเกาหลีใต้ เนื่องจากมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งใหม่ อันเป็นผลมาจากการเดินขบวนประท้วงครั้งใหญ่ในเดือนมิถุนายน ซึ่งนำมาสู่การเลือกประธานาธิบดีทางตรง ทั้งนี้คุณเสกสรรชี้ว่าความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ไม่ได้เกิดขึ้นแบบทันที แต่เป็นการสั่งสมประสบการณ์ที่ยาวนาน
 
การปฏิรูปภายใน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนตัวเองของหน่วยงานภาครัฐและกองทัพให้เข้ากับยุคสมัย หลังจากต้องเผชิญกับแรงกดดันทางสังคมอย่างหนัก ส่งผลอย่างมากต่อการลดบทบาทของกองทัพในการแทรกแซงการเมือง ในขณะเดียวกันการที่รัฐสภามีบทบาทมากขึ้นในการกำกับดูแลกองทัพเองก็ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการลดทอนอิทธิพลของกองทัพ นอกจากนี้การผลักตัวเองออกสู่โลกภายนอก ถือเป็นอีกปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมตรวจสอบได้ของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการเข้าเป็นสมาชิก OECD ซึ่งนำไปสู่การปฏิรูปโครงสร้างการต่อต้านคอร์รัปชันตามกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ OECD กำหนดไว้ โดยประเทศสมาชิกต้องปรับโครงสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ที่ต้องเปิดเผย โปร่งใส และสร้างความเป็นธรรม สิ่งเหล่านี้เองส่งผลให้เกาหลีใต้ต้องปรับมาตรฐานของประเทศครั้งใหญ่

ปัจจัยเชิงสถาบัน ตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้

ปัจจัยเชิงสถาบัน ถือเป็นอีกตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการยุบรวม 3 องค์กรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านคอร์รัปชันเข้าไว้ด้วยกัน ประกอบด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการอุทธรณ์หรือวินิจฉัยเกี่ยวกับสิทธิพลเมือง เกิดเป็น “สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคุ้มครองสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (Anti-corruption & Civil Rights Commission: ACRC)” ในปี 2008 โดยมีบทบาทหลักในการถืออำนาจตามกฎหมาย 5 ฉบับสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต ดังนี้
 
กฎหมายฉบับแรกเกี่ยวข้องกับการนิยามการทุจริต ว่ามีขอบเขตแบบใด หรืออะไรบ้างที่เข้าข่ายการทุจริต กฎหมายฉบับที่สองเป็นกฎหมายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส ปี 2011 ซึ่งมีแนวคิดสำคัญคือ “เมื่อใดที่คุณปกป้องสังคม กฎหมายจะปกป้องคุณ (당신이 사회를 지킬 때, 법은 당신을 지킨다)” ถือเป็นการสร้างความเชื่อมั่นอย่างมากให้กับผู้แจ้งเบาะแส กฎหมายฉบับที่สาม คือกฎหมายคิมยองรัน ซึ่งเป็นกฎหมายเน้นในเรื่องการห้ามรับของกำนัน เช่น ห้ามให้ของกำนันมูลค่าเกินกว่า 5 หมื่นวอนในกรณีทั่วไป หรือ 1 แสนวอนในกรณีงานแต่งหรืองานศพ ฯลฯ กฎหมายฉบับนี้มีความสำคัญในการปรับพฤติกรรมของข้าราชการเกาหลีใต้อย่างมหาศาล
 
แม้ว่ากฎหมายนี้จะฝืนธรรมเนียมการมอบของขวัญของหรือของกำนัลของเกาหลีใต้ก็ตาม ส่วนกฎหมายฉบับที่สี่ เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินสาธารณะที่ต้องมีความรอบคอบและโปร่งใส และห้ามเคลื่อนย้ายเงินอย่างผิดปกติ โดยไม่มีกิจกรรมรองรับ และกฎหมายฉบับสุดท้ายออกมาเพื่อกำกับการใช้อำนาจในทางไม่ชอบเพื่อรับผลตอบแทน ซึ่งจะเกี่ยวข้องอย่างมากกับเรื่องของผลประโยชน์ขัดกัน เมื่อดูจากตัวกฎหมายทั้ง 5 ฉบับจะเห็นว่ามีพัฒนาการความเข้มข้นและลงรายละเอียดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
 
นอกจากนี้เกาหลีใต้ยังมีการตั้ง “สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งเกาหลีใต้ (Corruption Investigation Office for High-ranking Officials: CIO)” โดยเกิดจากการปฏิรูปอัยการ เพราะอำนาจของอัยการมีสูงมากในอดีต การปฏิรูปนี้นำมาสู่การลดอำนาจอัยการในการสืบสวน สอบสวน และจับกุม อีกทั้ง ก่อนการเกิดขึ้นขององค์กรใหม่นี้ได้มีการส่งศาลรัฐธรรมนูญเพื่อตีความว่าการใช้อำนาจปฏิรูปนี้ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลมองว่าเป็นอำนาจของฝ่ายบริหาร สะท้อนให้เห็นเส้นแบ่งทางอำนาจและการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในเกาหลีใต้ได้เป็นอย่างดี

ลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน

คุณเสกสรรได้กล่าวเสริมอีกว่าปัจจุบันเกาหลีใต้ได้มีความพยายามอย่างมากในการลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดทำเว็บไซด์ CleanKorea.Go.kr ที่มีฟังก์ชันให้ยื่นคำร้อง นอกจากนี้คนเกาหลีใต้ยังมีความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานภาครัฐสูงมาก โดยเฉพาะองค์กรศาล ที่ได้รับความไว้วางใจสูงสุดติดต่อกันหลายปี ในแง่บทบาทภาคประชาสังคมถือว่าเป็นอีกจุดเด่นสำคัญของเกาหลีใต้ ที่หน้าที่สำคัญในการตามประเด็นต่าง ๆ เพื่อคัดกรองให้ประชาชนมีความตื่นตัวกับประเด็นทางสังคมมากยิ่งขึ้น
 
ทั้งนี้ คุณเสกสรรมองว่าในกรณีของไทยเองควรมีภาคประชาสังคมในลักษณะเช่นนี้ด้วย ซึ่งศูนย์ KRAC เองสามารถยกระดับมาทำหน้าที่ในส่วนนี้ได้มากยิ่งขึ้น ผ่านการทำงานของเครือข่ายที่ศูนย์มีอยู่ อย่างไรก็ตาม คุณเสกสรรมองว่าการแก้ไขปัญหาทุจริตของไทยยังมีปัญหา คือ ประชาชนไม่เชื่อมั่นหรือเชื่อถือในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นข้อจำกัดอย่างหนึ่งในการต่อต้านปัญหาคอร์รัปชันในสังคมไทย

ปัจจัยทางวัฒนธรรมของสังคมเกาหลีใต้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิด

ปัจจัยทางวัฒนธรรม คุณเสกสรรตั้งคำถามว่าการเป็นสังคมตรวจสอบถ่วงดุลทำให้อำนาจนิยมของเกาหลีใต้หายไปหรือไม่ ซึ่งคุณเสกสรรเองมองว่าอำนาจนิยมในเกาหลีใต้ยังคงอยู่ร่วมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอย่างแยกกันไม่ขาด ซึ่งสะท้อนผ่านวัฒนธรรมการกดขี่ในที่ทำงาน รวมไปถึงการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา อันเป็นผลสำคัญมาจาการใช้อำนาจที่เหนือกว่ากดขี่ผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า
 
โดยสามารถจำแนกการกดขี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ คือ
  1. การกดขี่จากความเป็นเจ้าของหรือมีอำนาจในทางการทำงานที่ใหญ่กว่า โดยมีหลากหลายกรณีที่เกิดขึ้น แต่ความสำคัญคือสังคมเกาหลีไม่ทนและเล่นงานผู้ใช้อำนาจนี้อย่างหนักหน่วง นับเป็นการสร้างวัฒนธรรมไม่ลอยนวลพ้นผิด
  2. การสร้างแรงจูงใจเท็จหรือแรงกดดันทางอ้อม คล้ายกรณีแชร์ลูกโซ่ที่หัวหน้าทีมกดดันลูกน้องให้ต้องเร่งทำยอดขาย หรือในกรณีการกดค่าแรง
  3. การจ่ายเงินผ่านสิ่งอื่นที่ไม่มีมูลค่า เช่นการไม่จ่ายค่าแรงเพราะถือว่าได้ร่วมงานกับผู้ที่มีประสบการณ์สูง สามารถนำไปต่อยอดในการหางานใหม่ได้ในอนาคต
การกดขี่ในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้สะท้อนว่าในสังคมวัฒนธรรมเกาหลีเอง อำนาจนิยมยังคงมีอยู่ในระดับพื้นฐาน แต่ที่ต่างออกไปคือการเปิดเผย โปร่งใส และตรวจสอบได้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิดเหล่านี้ และผู้กระทำผิดต้องรับบทลงโทษทั้งทางกฎหมายและแรงกดดันทางสังคมร่วมด้วย โดยภาคประชาสังคมมีการเปิดสายด่วนพิเศษเพื่อรับรายงานปัญหาเหล่านี้เพื่อผลักดันการแก้ไขปัญหาอำนาจนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีใต้

การต่อต้านคอร์รัปชัน จะมีประสิทธิภาพต้องมีกฎหมายที่เข้มเเข็ง มีองค์ความรู้ที่ครอบคลุม

ทั้งนี้ คุณเสกสรรสรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า กฎหมายประเทศไทยเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันมีหลายฉบับ แต่ที่สำคัญคือกฎหมายนั้นต้องมีความครอบคลุมและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อไทยต้องการเข้า OECD ยิ่งต้องปรับตัวมากขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้

 

ต่อมา ในประเด็นการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายถือเป็นเรื่องสำคัญของเมืองไทย เพราะปัจจุบันนี้เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าสาธารณชนมีความคาดหวัง หรือมองบทบาทของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันในไทยอย่างไรบ้าง มีความเชื่อมั่นมากน้อยเพียงใด จึงอาจจำเป็นต้องมีการสำรวจอย่างจริงจัง เพื่อปรับการทำงานในอนาคต เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องกระบวนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่มากยิ่งขึ้น

 

สำหรับประเด็นสุดท้าย คือเรื่องการสื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุดประการหนึ่ง โดยคุณเสกสรรเสนอว่า จำเป็นต้องมีหลักสูตรในการสร้างองค์ความรู้เหล่านี้ต่อภาคส่วนหรือกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีโจทย์การทำงานไม่เหมือนกัน

ปีที่แต่ง (พ.ศ.)
25 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้แต่ง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

ผู้จัดการศูนย์ KRAC 

หน่วยงานสนับสนุน
05_โลโก้ KRAC
โลโก้คณะเศรษฐศาสตร์ (ภาษาไทย)

หัวข้อ
Related Content

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน

You might also like...

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเพิ่มอำนาจสูงสุดให้กับคนหนึ่งนั่น ก็คือ “ประธานาธิบดี” และในช่วงตั้งสาธารณรัฐเกาหลีเอง ในปี 1949 ก็มีการจัดตั้งศาลยุติธรรมขึ้นต่อมา ซึ่งเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมืองและนิติบัญญัติด้วย อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวถูกท้าทายอย่างมากหลังช่วงที่เกิดการรัฐประหาร เนื่องจากประธานาธิบดีที่มาจากทหารพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ ในการจำกัดอำนาจของฝ่ายตุลาการ โดยเฉพาะการกำหนดในรัฐธรรมนูญให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาเป็นอำนาจของประธานาธิบดี ประเด็นที่น่าสนใจคือการแทรกแซงทางการเมืองเหล่านี้ไม่ใช่การแทรกแซงทางตรงแต่อย่างใด เป็นลักษณะการแทรกแซงทางอ้อม ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนที่ทำให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจ และนำไปสู่การเดินขบวนประท้วงในที่สุด โดยในปี 1987 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของระบอบการเมืองเกาหลีใต้ เนื่องจากมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งใหม่ อันเป็นผลมาจากการเดินขบวนประท้วงครั้งใหญ่ในเดือนมิถุนายน ซึ่งนำมาสู่การเลือกประธานาธิบดีทางตรง ทั้งนี้คุณเสกสรรชี้ว่าความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ไม่ได้เกิดขึ้นแบบทันที แต่เป็นการสั่งสมประสบการณ์ที่ยาวนาน การปฏิรูปภายใน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนตัวเองของหน่วยงานภาครัฐและกองทัพให้เข้ากับยุคสมัย หลังจากต้องเผชิญกับแรงกดดันทางสังคมอย่างหนัก ส่งผลอย่างมากต่อการลดบทบาทของกองทัพในการแทรกแซงการเมือง ในขณะเดียวกันการที่รัฐสภามีบทบาทมากขึ้นในการกำกับดูแลกองทัพเองก็ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการลดทอนอิทธิพลของกองทัพ นอกจากนี้การผลักตัวเองออกสู่โลกภายนอก ถือเป็นอีกปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมตรวจสอบได้ของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการเข้าเป็นสมาชิก OECD ซึ่งนำไปสู่การปฏิรูปโครงสร้างการต่อต้านคอร์รัปชันตามกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ OECD กำหนดไว้ โดยประเทศสมาชิกต้องปรับโครงสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ที่ต้องเปิดเผย โปร่งใส และสร้างความเป็นธรรม สิ่งเหล่านี้เองส่งผลให้เกาหลีใต้ต้องปรับมาตรฐานของประเทศครั้งใหญ่ ปัจจัยเชิงสถาบัน ตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ ปัจจัยเชิงสถาบัน ถือเป็นอีกตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการยุบรวม 3 องค์กรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านคอร์รัปชันเข้าไว้ด้วยกัน ประกอบด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการอุทธรณ์หรือวินิจฉัยเกี่ยวกับสิทธิพลเมือง เกิดเป็น “สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคุ้มครองสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (Anti-corruption & Civil Rights Commission: ACRC)” ในปี 2008 โดยมีบทบาทหลักในการถืออำนาจตามกฎหมาย 5 ฉบับสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต ดังนี้ กฎหมายฉบับแรกเกี่ยวข้องกับการนิยามการทุจริต ว่ามีขอบเขตแบบใด หรืออะไรบ้างที่เข้าข่ายการทุจริต กฎหมายฉบับที่สองเป็นกฎหมายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส ปี 2011 ซึ่งมีแนวคิดสำคัญคือ “เมื่อใดที่คุณปกป้องสังคม กฎหมายจะปกป้องคุณ (당신이 사회를 지킬 때, 법은 당신을 지킨다)” ถือเป็นการสร้างความเชื่อมั่นอย่างมากให้กับผู้แจ้งเบาะแส กฎหมายฉบับที่สาม คือกฎหมายคิมยองรัน ซึ่งเป็นกฎหมายเน้นในเรื่องการห้ามรับของกำนัน เช่น ห้ามให้ของกำนันมูลค่าเกินกว่า 5 หมื่นวอนในกรณีทั่วไป หรือ 1 แสนวอนในกรณีงานแต่งหรืองานศพ ฯลฯ กฎหมายฉบับนี้มีความสำคัญในการปรับพฤติกรรมของข้าราชการเกาหลีใต้อย่างมหาศาล แม้ว่ากฎหมายนี้จะฝืนธรรมเนียมการมอบของขวัญของหรือของกำนัลของเกาหลีใต้ก็ตาม ส่วนกฎหมายฉบับที่สี่ เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินสาธารณะที่ต้องมีความรอบคอบและโปร่งใส และห้ามเคลื่อนย้ายเงินอย่างผิดปกติ โดยไม่มีกิจกรรมรองรับ และกฎหมายฉบับสุดท้ายออกมาเพื่อกำกับการใช้อำนาจในทางไม่ชอบเพื่อรับผลตอบแทน ซึ่งจะเกี่ยวข้องอย่างมากกับเรื่องของผลประโยชน์ขัดกัน เมื่อดูจากตัวกฎหมายทั้ง 5 ฉบับจะเห็นว่ามีพัฒนาการความเข้มข้นและลงรายละเอียดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้เกาหลีใต้ยังมีการตั้ง “สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งเกาหลีใต้ (Corruption Investigation Office for High-ranking Officials: CIO)” โดยเกิดจากการปฏิรูปอัยการ เพราะอำนาจของอัยการมีสูงมากในอดีต การปฏิรูปนี้นำมาสู่การลดอำนาจอัยการในการสืบสวน สอบสวน และจับกุม อีกทั้ง ก่อนการเกิดขึ้นขององค์กรใหม่นี้ได้มีการส่งศาลรัฐธรรมนูญเพื่อตีความว่าการใช้อำนาจปฏิรูปนี้ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลมองว่าเป็นอำนาจของฝ่ายบริหาร สะท้อนให้เห็นเส้นแบ่งทางอำนาจและการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในเกาหลีใต้ได้เป็นอย่างดี ลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน คุณเสกสรรได้กล่าวเสริมอีกว่าปัจจุบันเกาหลีใต้ได้มีความพยายามอย่างมากในการลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดทำเว็บไซด์ CleanKorea.Go.kr ที่มีฟังก์ชันให้ยื่นคำร้อง นอกจากนี้คนเกาหลีใต้ยังมีความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานภาครัฐสูงมาก โดยเฉพาะองค์กรศาล ที่ได้รับความไว้วางใจสูงสุดติดต่อกันหลายปี ในแง่บทบาทภาคประชาสังคมถือว่าเป็นอีกจุดเด่นสำคัญของเกาหลีใต้ ที่หน้าที่สำคัญในการตามประเด็นต่าง ๆ เพื่อคัดกรองให้ประชาชนมีความตื่นตัวกับประเด็นทางสังคมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ คุณเสกสรรมองว่าในกรณีของไทยเองควรมีภาคประชาสังคมในลักษณะเช่นนี้ด้วย ซึ่งศูนย์ KRAC เองสามารถยกระดับมาทำหน้าที่ในส่วนนี้ได้มากยิ่งขึ้น ผ่านการทำงานของเครือข่ายที่ศูนย์มีอยู่ อย่างไรก็ตาม คุณเสกสรรมองว่าการแก้ไขปัญหาทุจริตของไทยยังมีปัญหา คือ ประชาชนไม่เชื่อมั่นหรือเชื่อถือในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นข้อจำกัดอย่างหนึ่งในการต่อต้านปัญหาคอร์รัปชันในสังคมไทย ปัจจัยทางวัฒนธรรมของสังคมเกาหลีใต้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิด ปัจจัยทางวัฒนธรรม คุณเสกสรรตั้งคำถามว่าการเป็นสังคมตรวจสอบถ่วงดุลทำให้อำนาจนิยมของเกาหลีใต้หายไปหรือไม่ ซึ่งคุณเสกสรรเองมองว่าอำนาจนิยมในเกาหลีใต้ยังคงอยู่ร่วมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอย่างแยกกันไม่ขาด ซึ่งสะท้อนผ่านวัฒนธรรมการกดขี่ในที่ทำงาน รวมไปถึงการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา อันเป็นผลสำคัญมาจาการใช้อำนาจที่เหนือกว่ากดขี่ผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า โดยสามารถจำแนกการกดขี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ คือ การกดขี่จากความเป็นเจ้าของหรือมีอำนาจในทางการทำงานที่ใหญ่กว่า โดยมีหลากหลายกรณีที่เกิดขึ้น แต่ความสำคัญคือสังคมเกาหลีไม่ทนและเล่นงานผู้ใช้อำนาจนี้อย่างหนักหน่วง นับเป็นการสร้างวัฒนธรรมไม่ลอยนวลพ้นผิด การสร้างแรงจูงใจเท็จหรือแรงกดดันทางอ้อม คล้ายกรณีแชร์ลูกโซ่ที่หัวหน้าทีมกดดันลูกน้องให้ต้องเร่งทำยอดขาย หรือในกรณีการกดค่าแรง การจ่ายเงินผ่านสิ่งอื่นที่ไม่มีมูลค่า เช่นการไม่จ่ายค่าแรงเพราะถือว่าได้ร่วมงานกับผู้ที่มีประสบการณ์สูง สามารถนำไปต่อยอดในการหางานใหม่ได้ในอนาคต การกดขี่ในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้สะท้อนว่าในสังคมวัฒนธรรมเกาหลีเอง อำนาจนิยมยังคงมีอยู่ในระดับพื้นฐาน แต่ที่ต่างออกไปคือการเปิดเผย โปร่งใส และตรวจสอบได้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิดเหล่านี้ และผู้กระทำผิดต้องรับบทลงโทษทั้งทางกฎหมายและแรงกดดันทางสังคมร่วมด้วย โดยภาคประชาสังคมมีการเปิดสายด่วนพิเศษเพื่อรับรายงานปัญหาเหล่านี้เพื่อผลักดันการแก้ไขปัญหาอำนาจนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีใต้ การต่อต้านคอร์รัปชัน จะมีประสิทธิภาพต้องมีกฎหมายที่เข้มเเข็ง มีองค์ความรู้ที่ครอบคลุม ทั้งนี้ คุณเสกสรรสรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า กฎหมายประเทศไทยเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันมีหลายฉบับ แต่ที่สำคัญคือกฎหมายนั้นต้องมีความครอบคลุมและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อไทยต้องการเข้า OECD ยิ่งต้องปรับตัวมากขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้ ต่อมา ในประเด็นการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายถือเป็นเรื่องสำคัญของเมืองไทย เพราะปัจจุบันนี้เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าสาธารณชนมีความคาดหวัง หรือมองบทบาทของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันในไทยอย่างไรบ้าง มีความเชื่อมั่นมากน้อยเพียงใด จึงอาจจำเป็นต้องมีการสำรวจอย่างจริงจัง เพื่อปรับการทำงานในอนาคต เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องกระบวนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่มากยิ่งขึ้น สำหรับประเด็นสุดท้าย คือเรื่องการสื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุดประการหนึ่ง โดยคุณเสกสรรเสนอว่า จำเป็นต้องมีหลักสูตรในการสร้างองค์ความรู้เหล่านี้ต่อภาคส่วนหรือกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีโจทย์การทำงานไม่เหมือนกัน ปีที่แต่ง (พ.ศ.) 25 กุมภาพันธ์ 2568 ผู้แต่ง ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ผู้จัดการศูนย์ KRAC หน่วยงานสนับสนุน หัวข้อ Related Content

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเพิ่มอำนาจสูงสุดให้กับคนหนึ่งนั่น ก็คือ “ประธานาธิบดี” และในช่วงตั้งสาธารณรัฐเกาหลีเอง ในปี 1949 ก็มีการจัดตั้งศาลยุติธรรมขึ้นต่อมา ซึ่งเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมืองและนิติบัญญัติด้วย อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวถูกท้าทายอย่างมากหลังช่วงที่เกิดการรัฐประหาร เนื่องจากประธานาธิบดีที่มาจากทหารพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ ในการจำกัดอำนาจของฝ่ายตุลาการ โดยเฉพาะการกำหนดในรัฐธรรมนูญให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาเป็นอำนาจของประธานาธิบดี ประเด็นที่น่าสนใจคือการแทรกแซงทางการเมืองเหล่านี้ไม่ใช่การแทรกแซงทางตรงแต่อย่างใด เป็นลักษณะการแทรกแซงทางอ้อม ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนที่ทำให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจ และนำไปสู่การเดินขบวนประท้วงในที่สุด โดยในปี 1987 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของระบอบการเมืองเกาหลีใต้ เนื่องจากมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งใหม่ อันเป็นผลมาจากการเดินขบวนประท้วงครั้งใหญ่ในเดือนมิถุนายน ซึ่งนำมาสู่การเลือกประธานาธิบดีทางตรง ทั้งนี้คุณเสกสรรชี้ว่าความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ไม่ได้เกิดขึ้นแบบทันที แต่เป็นการสั่งสมประสบการณ์ที่ยาวนาน การปฏิรูปภายใน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนตัวเองของหน่วยงานภาครัฐและกองทัพให้เข้ากับยุคสมัย หลังจากต้องเผชิญกับแรงกดดันทางสังคมอย่างหนัก ส่งผลอย่างมากต่อการลดบทบาทของกองทัพในการแทรกแซงการเมือง ในขณะเดียวกันการที่รัฐสภามีบทบาทมากขึ้นในการกำกับดูแลกองทัพเองก็ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการลดทอนอิทธิพลของกองทัพ นอกจากนี้การผลักตัวเองออกสู่โลกภายนอก ถือเป็นอีกปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมตรวจสอบได้ของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการเข้าเป็นสมาชิก OECD ซึ่งนำไปสู่การปฏิรูปโครงสร้างการต่อต้านคอร์รัปชันตามกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ OECD กำหนดไว้ โดยประเทศสมาชิกต้องปรับโครงสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ที่ต้องเปิดเผย โปร่งใส และสร้างความเป็นธรรม สิ่งเหล่านี้เองส่งผลให้เกาหลีใต้ต้องปรับมาตรฐานของประเทศครั้งใหญ่ ปัจจัยเชิงสถาบัน ตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ ปัจจัยเชิงสถาบัน ถือเป็นอีกตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการยุบรวม 3 องค์กรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านคอร์รัปชันเข้าไว้ด้วยกัน ประกอบด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการอุทธรณ์หรือวินิจฉัยเกี่ยวกับสิทธิพลเมือง เกิดเป็น “สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคุ้มครองสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (Anti-corruption & Civil Rights Commission: ACRC)” ในปี 2008 โดยมีบทบาทหลักในการถืออำนาจตามกฎหมาย 5 ฉบับสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต ดังนี้ กฎหมายฉบับแรกเกี่ยวข้องกับการนิยามการทุจริต ว่ามีขอบเขตแบบใด หรืออะไรบ้างที่เข้าข่ายการทุจริต กฎหมายฉบับที่สองเป็นกฎหมายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส ปี 2011 ซึ่งมีแนวคิดสำคัญคือ “เมื่อใดที่คุณปกป้องสังคม กฎหมายจะปกป้องคุณ (당신이 사회를 지킬 때, 법은 당신을 지킨다)” ถือเป็นการสร้างความเชื่อมั่นอย่างมากให้กับผู้แจ้งเบาะแส กฎหมายฉบับที่สาม คือกฎหมายคิมยองรัน ซึ่งเป็นกฎหมายเน้นในเรื่องการห้ามรับของกำนัน เช่น ห้ามให้ของกำนันมูลค่าเกินกว่า 5 หมื่นวอนในกรณีทั่วไป หรือ 1 แสนวอนในกรณีงานแต่งหรืองานศพ ฯลฯ กฎหมายฉบับนี้มีความสำคัญในการปรับพฤติกรรมของข้าราชการเกาหลีใต้อย่างมหาศาล แม้ว่ากฎหมายนี้จะฝืนธรรมเนียมการมอบของขวัญของหรือของกำนัลของเกาหลีใต้ก็ตาม ส่วนกฎหมายฉบับที่สี่ เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินสาธารณะที่ต้องมีความรอบคอบและโปร่งใส และห้ามเคลื่อนย้ายเงินอย่างผิดปกติ โดยไม่มีกิจกรรมรองรับ และกฎหมายฉบับสุดท้ายออกมาเพื่อกำกับการใช้อำนาจในทางไม่ชอบเพื่อรับผลตอบแทน ซึ่งจะเกี่ยวข้องอย่างมากกับเรื่องของผลประโยชน์ขัดกัน เมื่อดูจากตัวกฎหมายทั้ง 5 ฉบับจะเห็นว่ามีพัฒนาการความเข้มข้นและลงรายละเอียดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้เกาหลีใต้ยังมีการตั้ง “สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งเกาหลีใต้ (Corruption Investigation Office for High-ranking Officials: CIO)” โดยเกิดจากการปฏิรูปอัยการ เพราะอำนาจของอัยการมีสูงมากในอดีต การปฏิรูปนี้นำมาสู่การลดอำนาจอัยการในการสืบสวน สอบสวน และจับกุม อีกทั้ง ก่อนการเกิดขึ้นขององค์กรใหม่นี้ได้มีการส่งศาลรัฐธรรมนูญเพื่อตีความว่าการใช้อำนาจปฏิรูปนี้ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลมองว่าเป็นอำนาจของฝ่ายบริหาร สะท้อนให้เห็นเส้นแบ่งทางอำนาจและการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในเกาหลีใต้ได้เป็นอย่างดี ลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน คุณเสกสรรได้กล่าวเสริมอีกว่าปัจจุบันเกาหลีใต้ได้มีความพยายามอย่างมากในการลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดทำเว็บไซด์ CleanKorea.Go.kr ที่มีฟังก์ชันให้ยื่นคำร้อง นอกจากนี้คนเกาหลีใต้ยังมีความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานภาครัฐสูงมาก โดยเฉพาะองค์กรศาล ที่ได้รับความไว้วางใจสูงสุดติดต่อกันหลายปี ในแง่บทบาทภาคประชาสังคมถือว่าเป็นอีกจุดเด่นสำคัญของเกาหลีใต้ ที่หน้าที่สำคัญในการตามประเด็นต่าง ๆ เพื่อคัดกรองให้ประชาชนมีความตื่นตัวกับประเด็นทางสังคมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ คุณเสกสรรมองว่าในกรณีของไทยเองควรมีภาคประชาสังคมในลักษณะเช่นนี้ด้วย ซึ่งศูนย์ KRAC เองสามารถยกระดับมาทำหน้าที่ในส่วนนี้ได้มากยิ่งขึ้น ผ่านการทำงานของเครือข่ายที่ศูนย์มีอยู่ อย่างไรก็ตาม คุณเสกสรรมองว่าการแก้ไขปัญหาทุจริตของไทยยังมีปัญหา คือ ประชาชนไม่เชื่อมั่นหรือเชื่อถือในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นข้อจำกัดอย่างหนึ่งในการต่อต้านปัญหาคอร์รัปชันในสังคมไทย ปัจจัยทางวัฒนธรรมของสังคมเกาหลีใต้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิด ปัจจัยทางวัฒนธรรม คุณเสกสรรตั้งคำถามว่าการเป็นสังคมตรวจสอบถ่วงดุลทำให้อำนาจนิยมของเกาหลีใต้หายไปหรือไม่ ซึ่งคุณเสกสรรเองมองว่าอำนาจนิยมในเกาหลีใต้ยังคงอยู่ร่วมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอย่างแยกกันไม่ขาด ซึ่งสะท้อนผ่านวัฒนธรรมการกดขี่ในที่ทำงาน รวมไปถึงการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา อันเป็นผลสำคัญมาจาการใช้อำนาจที่เหนือกว่ากดขี่ผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า โดยสามารถจำแนกการกดขี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ คือ การกดขี่จากความเป็นเจ้าของหรือมีอำนาจในทางการทำงานที่ใหญ่กว่า โดยมีหลากหลายกรณีที่เกิดขึ้น แต่ความสำคัญคือสังคมเกาหลีไม่ทนและเล่นงานผู้ใช้อำนาจนี้อย่างหนักหน่วง นับเป็นการสร้างวัฒนธรรมไม่ลอยนวลพ้นผิด การสร้างแรงจูงใจเท็จหรือแรงกดดันทางอ้อม คล้ายกรณีแชร์ลูกโซ่ที่หัวหน้าทีมกดดันลูกน้องให้ต้องเร่งทำยอดขาย หรือในกรณีการกดค่าแรง การจ่ายเงินผ่านสิ่งอื่นที่ไม่มีมูลค่า เช่นการไม่จ่ายค่าแรงเพราะถือว่าได้ร่วมงานกับผู้ที่มีประสบการณ์สูง สามารถนำไปต่อยอดในการหางานใหม่ได้ในอนาคต การกดขี่ในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้สะท้อนว่าในสังคมวัฒนธรรมเกาหลีเอง อำนาจนิยมยังคงมีอยู่ในระดับพื้นฐาน แต่ที่ต่างออกไปคือการเปิดเผย โปร่งใส และตรวจสอบได้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิดเหล่านี้ และผู้กระทำผิดต้องรับบทลงโทษทั้งทางกฎหมายและแรงกดดันทางสังคมร่วมด้วย โดยภาคประชาสังคมมีการเปิดสายด่วนพิเศษเพื่อรับรายงานปัญหาเหล่านี้เพื่อผลักดันการแก้ไขปัญหาอำนาจนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีใต้ การต่อต้านคอร์รัปชัน จะมีประสิทธิภาพต้องมีกฎหมายที่เข้มเเข็ง มีองค์ความรู้ที่ครอบคลุม ทั้งนี้ คุณเสกสรรสรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า กฎหมายประเทศไทยเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันมีหลายฉบับ แต่ที่สำคัญคือกฎหมายนั้นต้องมีความครอบคลุมและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อไทยต้องการเข้า OECD ยิ่งต้องปรับตัวมากขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้ ต่อมา ในประเด็นการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายถือเป็นเรื่องสำคัญของเมืองไทย เพราะปัจจุบันนี้เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าสาธารณชนมีความคาดหวัง หรือมองบทบาทของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันในไทยอย่างไรบ้าง มีความเชื่อมั่นมากน้อยเพียงใด จึงอาจจำเป็นต้องมีการสำรวจอย่างจริงจัง เพื่อปรับการทำงานในอนาคต เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องกระบวนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่มากยิ่งขึ้น สำหรับประเด็นสุดท้าย คือเรื่องการสื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุดประการหนึ่ง โดยคุณเสกสรรเสนอว่า จำเป็นต้องมีหลักสูตรในการสร้างองค์ความรู้เหล่านี้ต่อภาคส่วนหรือกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีโจทย์การทำงานไม่เหมือนกัน ปีที่แต่ง (พ.ศ.) 25 กุมภาพันธ์ 2568 ผู้แต่ง ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ผู้จัดการศูนย์ KRAC หน่วยงานสนับสนุน หัวข้อ Related Content

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเพิ่มอำนาจสูงสุดให้กับคนหนึ่งนั่น ก็คือ “ประธานาธิบดี” และในช่วงตั้งสาธารณรัฐเกาหลีเอง ในปี 1949 ก็มีการจัดตั้งศาลยุติธรรมขึ้นต่อมา ซึ่งเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมืองและนิติบัญญัติด้วย อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวถูกท้าทายอย่างมากหลังช่วงที่เกิดการรัฐประหาร เนื่องจากประธานาธิบดีที่มาจากทหารพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ ในการจำกัดอำนาจของฝ่ายตุลาการ โดยเฉพาะการกำหนดในรัฐธรรมนูญให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาเป็นอำนาจของประธานาธิบดี ประเด็นที่น่าสนใจคือการแทรกแซงทางการเมืองเหล่านี้ไม่ใช่การแทรกแซงทางตรงแต่อย่างใด เป็นลักษณะการแทรกแซงทางอ้อม ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนที่ทำให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจ และนำไปสู่การเดินขบวนประท้วงในที่สุด โดยในปี 1987 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของระบอบการเมืองเกาหลีใต้ เนื่องจากมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งใหม่ อันเป็นผลมาจากการเดินขบวนประท้วงครั้งใหญ่ในเดือนมิถุนายน ซึ่งนำมาสู่การเลือกประธานาธิบดีทางตรง ทั้งนี้คุณเสกสรรชี้ว่าความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ไม่ได้เกิดขึ้นแบบทันที แต่เป็นการสั่งสมประสบการณ์ที่ยาวนาน การปฏิรูปภายใน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนตัวเองของหน่วยงานภาครัฐและกองทัพให้เข้ากับยุคสมัย หลังจากต้องเผชิญกับแรงกดดันทางสังคมอย่างหนัก ส่งผลอย่างมากต่อการลดบทบาทของกองทัพในการแทรกแซงการเมือง ในขณะเดียวกันการที่รัฐสภามีบทบาทมากขึ้นในการกำกับดูแลกองทัพเองก็ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการลดทอนอิทธิพลของกองทัพ นอกจากนี้การผลักตัวเองออกสู่โลกภายนอก ถือเป็นอีกปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมตรวจสอบได้ของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการเข้าเป็นสมาชิก OECD ซึ่งนำไปสู่การปฏิรูปโครงสร้างการต่อต้านคอร์รัปชันตามกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ OECD กำหนดไว้ โดยประเทศสมาชิกต้องปรับโครงสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ที่ต้องเปิดเผย โปร่งใส และสร้างความเป็นธรรม สิ่งเหล่านี้เองส่งผลให้เกาหลีใต้ต้องปรับมาตรฐานของประเทศครั้งใหญ่ ปัจจัยเชิงสถาบัน ตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ ปัจจัยเชิงสถาบัน ถือเป็นอีกตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการยุบรวม 3 องค์กรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านคอร์รัปชันเข้าไว้ด้วยกัน ประกอบด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการอุทธรณ์หรือวินิจฉัยเกี่ยวกับสิทธิพลเมือง เกิดเป็น “สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคุ้มครองสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (Anti-corruption & Civil Rights Commission: ACRC)” ในปี 2008 โดยมีบทบาทหลักในการถืออำนาจตามกฎหมาย 5 ฉบับสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต ดังนี้ กฎหมายฉบับแรกเกี่ยวข้องกับการนิยามการทุจริต ว่ามีขอบเขตแบบใด หรืออะไรบ้างที่เข้าข่ายการทุจริต กฎหมายฉบับที่สองเป็นกฎหมายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส ปี 2011 ซึ่งมีแนวคิดสำคัญคือ “เมื่อใดที่คุณปกป้องสังคม กฎหมายจะปกป้องคุณ (당신이 사회를 지킬 때, 법은 당신을 지킨다)” ถือเป็นการสร้างความเชื่อมั่นอย่างมากให้กับผู้แจ้งเบาะแส กฎหมายฉบับที่สาม คือกฎหมายคิมยองรัน ซึ่งเป็นกฎหมายเน้นในเรื่องการห้ามรับของกำนัน เช่น ห้ามให้ของกำนันมูลค่าเกินกว่า 5 หมื่นวอนในกรณีทั่วไป หรือ 1 แสนวอนในกรณีงานแต่งหรืองานศพ ฯลฯ กฎหมายฉบับนี้มีความสำคัญในการปรับพฤติกรรมของข้าราชการเกาหลีใต้อย่างมหาศาล แม้ว่ากฎหมายนี้จะฝืนธรรมเนียมการมอบของขวัญของหรือของกำนัลของเกาหลีใต้ก็ตาม ส่วนกฎหมายฉบับที่สี่ เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินสาธารณะที่ต้องมีความรอบคอบและโปร่งใส และห้ามเคลื่อนย้ายเงินอย่างผิดปกติ โดยไม่มีกิจกรรมรองรับ และกฎหมายฉบับสุดท้ายออกมาเพื่อกำกับการใช้อำนาจในทางไม่ชอบเพื่อรับผลตอบแทน ซึ่งจะเกี่ยวข้องอย่างมากกับเรื่องของผลประโยชน์ขัดกัน เมื่อดูจากตัวกฎหมายทั้ง 5 ฉบับจะเห็นว่ามีพัฒนาการความเข้มข้นและลงรายละเอียดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้เกาหลีใต้ยังมีการตั้ง “สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งเกาหลีใต้ (Corruption Investigation Office for High-ranking Officials: CIO)” โดยเกิดจากการปฏิรูปอัยการ เพราะอำนาจของอัยการมีสูงมากในอดีต การปฏิรูปนี้นำมาสู่การลดอำนาจอัยการในการสืบสวน สอบสวน และจับกุม อีกทั้ง ก่อนการเกิดขึ้นขององค์กรใหม่นี้ได้มีการส่งศาลรัฐธรรมนูญเพื่อตีความว่าการใช้อำนาจปฏิรูปนี้ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลมองว่าเป็นอำนาจของฝ่ายบริหาร สะท้อนให้เห็นเส้นแบ่งทางอำนาจและการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในเกาหลีใต้ได้เป็นอย่างดี ลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน คุณเสกสรรได้กล่าวเสริมอีกว่าปัจจุบันเกาหลีใต้ได้มีความพยายามอย่างมากในการลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดทำเว็บไซด์ CleanKorea.Go.kr ที่มีฟังก์ชันให้ยื่นคำร้อง นอกจากนี้คนเกาหลีใต้ยังมีความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานภาครัฐสูงมาก โดยเฉพาะองค์กรศาล ที่ได้รับความไว้วางใจสูงสุดติดต่อกันหลายปี ในแง่บทบาทภาคประชาสังคมถือว่าเป็นอีกจุดเด่นสำคัญของเกาหลีใต้ ที่หน้าที่สำคัญในการตามประเด็นต่าง ๆ เพื่อคัดกรองให้ประชาชนมีความตื่นตัวกับประเด็นทางสังคมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ คุณเสกสรรมองว่าในกรณีของไทยเองควรมีภาคประชาสังคมในลักษณะเช่นนี้ด้วย ซึ่งศูนย์ KRAC เองสามารถยกระดับมาทำหน้าที่ในส่วนนี้ได้มากยิ่งขึ้น ผ่านการทำงานของเครือข่ายที่ศูนย์มีอยู่ อย่างไรก็ตาม คุณเสกสรรมองว่าการแก้ไขปัญหาทุจริตของไทยยังมีปัญหา คือ ประชาชนไม่เชื่อมั่นหรือเชื่อถือในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นข้อจำกัดอย่างหนึ่งในการต่อต้านปัญหาคอร์รัปชันในสังคมไทย ปัจจัยทางวัฒนธรรมของสังคมเกาหลีใต้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิด ปัจจัยทางวัฒนธรรม คุณเสกสรรตั้งคำถามว่าการเป็นสังคมตรวจสอบถ่วงดุลทำให้อำนาจนิยมของเกาหลีใต้หายไปหรือไม่ ซึ่งคุณเสกสรรเองมองว่าอำนาจนิยมในเกาหลีใต้ยังคงอยู่ร่วมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอย่างแยกกันไม่ขาด ซึ่งสะท้อนผ่านวัฒนธรรมการกดขี่ในที่ทำงาน รวมไปถึงการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา อันเป็นผลสำคัญมาจาการใช้อำนาจที่เหนือกว่ากดขี่ผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า โดยสามารถจำแนกการกดขี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ คือ การกดขี่จากความเป็นเจ้าของหรือมีอำนาจในทางการทำงานที่ใหญ่กว่า โดยมีหลากหลายกรณีที่เกิดขึ้น แต่ความสำคัญคือสังคมเกาหลีไม่ทนและเล่นงานผู้ใช้อำนาจนี้อย่างหนักหน่วง นับเป็นการสร้างวัฒนธรรมไม่ลอยนวลพ้นผิด การสร้างแรงจูงใจเท็จหรือแรงกดดันทางอ้อม คล้ายกรณีแชร์ลูกโซ่ที่หัวหน้าทีมกดดันลูกน้องให้ต้องเร่งทำยอดขาย หรือในกรณีการกดค่าแรง การจ่ายเงินผ่านสิ่งอื่นที่ไม่มีมูลค่า เช่นการไม่จ่ายค่าแรงเพราะถือว่าได้ร่วมงานกับผู้ที่มีประสบการณ์สูง สามารถนำไปต่อยอดในการหางานใหม่ได้ในอนาคต การกดขี่ในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้สะท้อนว่าในสังคมวัฒนธรรมเกาหลีเอง อำนาจนิยมยังคงมีอยู่ในระดับพื้นฐาน แต่ที่ต่างออกไปคือการเปิดเผย โปร่งใส และตรวจสอบได้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิดเหล่านี้ และผู้กระทำผิดต้องรับบทลงโทษทั้งทางกฎหมายและแรงกดดันทางสังคมร่วมด้วย โดยภาคประชาสังคมมีการเปิดสายด่วนพิเศษเพื่อรับรายงานปัญหาเหล่านี้เพื่อผลักดันการแก้ไขปัญหาอำนาจนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีใต้ การต่อต้านคอร์รัปชัน จะมีประสิทธิภาพต้องมีกฎหมายที่เข้มเเข็ง มีองค์ความรู้ที่ครอบคลุม ทั้งนี้ คุณเสกสรรสรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า กฎหมายประเทศไทยเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันมีหลายฉบับ แต่ที่สำคัญคือกฎหมายนั้นต้องมีความครอบคลุมและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อไทยต้องการเข้า OECD ยิ่งต้องปรับตัวมากขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้ ต่อมา ในประเด็นการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายถือเป็นเรื่องสำคัญของเมืองไทย เพราะปัจจุบันนี้เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าสาธารณชนมีความคาดหวัง หรือมองบทบาทของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันในไทยอย่างไรบ้าง มีความเชื่อมั่นมากน้อยเพียงใด จึงอาจจำเป็นต้องมีการสำรวจอย่างจริงจัง เพื่อปรับการทำงานในอนาคต เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องกระบวนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่มากยิ่งขึ้น สำหรับประเด็นสุดท้าย คือเรื่องการสื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุดประการหนึ่ง โดยคุณเสกสรรเสนอว่า จำเป็นต้องมีหลักสูตรในการสร้างองค์ความรู้เหล่านี้ต่อภาคส่วนหรือกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีโจทย์การทำงานไม่เหมือนกัน ปีที่แต่ง (พ.ศ.) 25 กุมภาพันธ์ 2568 ผู้แต่ง ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ผู้จัดการศูนย์ KRAC หน่วยงานสนับสนุน หัวข้อ Related Content