
จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล
ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁)
ปัจจัยเชิงสถาบัน ตัวแปรสำคัญในการเปลี่ยนผ่านสังคมเกาหลีใต้
ลดปัญหาการทุจริตผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน
ปัจจัยทางวัฒนธรรมของสังคมเกาหลีใต้ ช่วยเปิดโปงการกระทำผิด
- การกดขี่จากความเป็นเจ้าของหรือมีอำนาจในทางการทำงานที่ใหญ่กว่า โดยมีหลากหลายกรณีที่เกิดขึ้น แต่ความสำคัญคือสังคมเกาหลีไม่ทนและเล่นงานผู้ใช้อำนาจนี้อย่างหนักหน่วง นับเป็นการสร้างวัฒนธรรมไม่ลอยนวลพ้นผิด
- การสร้างแรงจูงใจเท็จหรือแรงกดดันทางอ้อม คล้ายกรณีแชร์ลูกโซ่ที่หัวหน้าทีมกดดันลูกน้องให้ต้องเร่งทำยอดขาย หรือในกรณีการกดค่าแรง
- การจ่ายเงินผ่านสิ่งอื่นที่ไม่มีมูลค่า เช่นการไม่จ่ายค่าแรงเพราะถือว่าได้ร่วมงานกับผู้ที่มีประสบการณ์สูง สามารถนำไปต่อยอดในการหางานใหม่ได้ในอนาคต
การต่อต้านคอร์รัปชัน จะมีประสิทธิภาพต้องมีกฎหมายที่เข้มเเข็ง มีองค์ความรู้ที่ครอบคลุม
ทั้งนี้ คุณเสกสรรสรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า กฎหมายประเทศไทยเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันมีหลายฉบับ แต่ที่สำคัญคือกฎหมายนั้นต้องมีความครอบคลุมและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อไทยต้องการเข้า OECD ยิ่งต้องปรับตัวมากขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้
ต่อมา ในประเด็นการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายถือเป็นเรื่องสำคัญของเมืองไทย เพราะปัจจุบันนี้เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าสาธารณชนมีความคาดหวัง หรือมองบทบาทของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันในไทยอย่างไรบ้าง มีความเชื่อมั่นมากน้อยเพียงใด จึงอาจจำเป็นต้องมีการสำรวจอย่างจริงจัง เพื่อปรับการทำงานในอนาคต เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องกระบวนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่มากยิ่งขึ้น
สำหรับประเด็นสุดท้าย คือเรื่องการสื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุดประการหนึ่ง โดยคุณเสกสรรเสนอว่า จำเป็นต้องมีหลักสูตรในการสร้างองค์ความรู้เหล่านี้ต่อภาคส่วนหรือกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งมีโจทย์การทำงานไม่เหมือนกัน
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก
ผู้จัดการศูนย์ KRAC
หัวข้อ
KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง
จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน
KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง
จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน
KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง
จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน