KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]

KRAC Insight | สู่สังคมโปร่งใส ตรวจสอบได้ เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้การคอร์รัปชันลดลง

จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล KRAC INSIGHT LIVE EP: 01 – จากดินแดนอำนาจนิยมสู่สังคมแห่งการตรวจสอบถ่วงดุล: เกาหลีใต้ทำอย่างไรให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ กับ คุณเสกสรร อานันทศิริเกียรติผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KATS) ที่มาอธิบายสถานการณ์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ในช่วง 2- 3 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงพาไปย้อนชมประวัติศาสตร์วัฒนธรรมเกาหลีใต้ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านในครั้งนี้ คุณเสกสรรเริ่มต้นโดยการพูดถึงสถานการณ์การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดียุน ซอกยอล ที่นำมาซึ่งการถอดถอนและตั้งข้อหากบฏต่อตัวประธานาธิบดีเอง ทั้งนี้ คุณเสกสรร มองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคมเกาหลีใต้ เนื่องจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องหยุดชะงักทั้งหมด โครงการขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยอำนาจประธานาธิบดีในการอนุมัติจำเป็นต้องรอผู้นำคนใหม่ ที่สำคัญคือค่าเงินวอนตกลงอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวยังส่งผลอย่างมากต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน อีกทั้งยังสั่นสะเทือนต่อความเป็นประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ด้วย คุณเสกสรรยังได้เปรียบเทียบให้เราเห็นถึงความแตกต่างกันระหว่างกรณีของอดีตประธานาธิบดีปาร์ค กึน-เฮ กับยุนซอกยอล โดยในกรณีแรกเป็นประเด็นเกี่ยวกับการทุจริต ในขณะที่กรณีหลังเชื่อมโยงกับเรื่องการใช้อำนาจที่ไม่ได้สัดส่วน ซึ่งเป็นโจทย์ยาก เพราะต้องมีการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉะนั้นผลของคำวินิจจฉัยในครั้งนี้จะเป็นบรรทัดฐานสำคัญของสังคมเกาหลีใต้ในอนาคต ซึ่งมีมิติทางอุดมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คุณเสกสรรได้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 3 ส่วนที่ส่งผลให้เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีการตรวจสอบถ่วงดุล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เริ่มจากการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) โดยคุณเสกสรรมองว่าจุดเริ่มต้นสำคัญคือการเริ่มตั้งศาลยุติธรรมของเกาหลีใต้ปี 1894 หรือเรียกว่าการปฏิรูปปีคัปโอ (갑오개혁) ซึ่งเป็นความพยายามในการปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ โดยภาพในสมัยราชวงศ์โชซอนก่อนยุคอาณานิคมนั้น เกาหลีใต้ไม่มีหน่วยทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด แต่เป็นการถ่วงดุลระหว่างขุนนางกับกษัตริย์มาโดยตลอด ซึ่งอำนาจที่กระจายเช่นนี้ย่อมสร้างปัญหาความขัดแย้ง […]