โครงการความเหมาะสมในการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ตามกฎหมายอาญา มาตรา 157

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ได้กําหนดความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่เป็นกรณีทั่วไปในกรณีที่เจ้าพนักงานฝ่าฝืนหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ทว่าบทบัญญัตินี้กลับตีความกว้างไปจนเกิดเป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

นักวิจัยอาวุโสที่สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย และผู้ประสานงานและก่อตั้ง E-Public Law Project เชี่ยวชาญด้านการทำงานการวิจัยด้านกฎหมายและนโยบายสาธารณะ
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต ตามกฎหมายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ควรมีการปรับปรุงกฎหมายด้านบทบาทประชาชนที่จากเดิมเป็นเพียงผู้สังเกตการณ์ให้สามารถยื่นคำร้องเพื่อให้เกิดการตรวจสอบการทุจริตได้
รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยด้านการปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2560 – 2565

จากปัญหาด้านความล่าช้าในการปราบปรามการทุจริตของคณะกรรมการ ป.ป.ช. พบว่า ควรมีการแก้ไขกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคในการปฏิบัติงาน การพัฒนาการบริหารจัดการองค์การ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับงานคดี และการร่วมมือด้านการปราบปรามการทุจริตกับหน่วยงานอื่น
KRAC Public Lecture | สร้างสะพานเพื่อเชื่อมประสานความร่วมมือข้ามภาคส่วนในการต่อต้านคอร์รัปชัน

KRAC จัดงานบรรยายสาธารณะในหัวข้อ “Strengthening Collaboration Between Law Enforcement and Citizens for an Effective Anti-Corruption Ecosystem” ร่วมกับ ป.ป.ช. UNODC องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ
เชิญเข้าร่วมรับฟังการบรรยายสาธารณะ หัวข้อ “Building Bridges: Strengthening Collaboration Between Law Enforcement and Citizens for an Effective Anti-Corruption Ecosystem”

เราจะเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพื่อสร้างระบบนิเวศที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพในการต่อต้านการทุจริตได้อย่างไร ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์ KRAC โดย Professor Matthew C. Stephenson, Professor of Law at Harvard Law School มีคำตอบมาให้
KRAC Roundtable | หน่วยงานตรวจสอบทุจริตทำไมทำงานล่าช้า? แล้วภาคประชาชนรู้ไหมว่ามีกฎระเบียบมากมายที่ภาครัฐต้องปฏิบัติตาม?

KRAC ร่วมกับ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ จัดประชุมโต๊ะกลมเพื่อหารือแนวทางผสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาการทุจริตในไทย
บทความวิจัย | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินคดีของผู้พิพากษาทางอาชญา: มุมมองของนักศึกษาในกรุงพนมเปญ

การศึกษามุมมองของนักศึกษาปริญญาตรีในกรุงพนมเปญต่อปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินคดีอาญา พบว่าnการศึกษาและความรู้ขั้นพื้นฐานมีอิทธิพลต่อการพิจารณาคดีอาญามากที่สุด