บทความวิจัย | ธรรมาภิบาลเพื่อการขจัดการทุจริตและการขัดกันแห่งผลประโยชน์

โครงการส่งเสริมธรรมาภิบาลฯ พบแนวทางแก้ไขการทุจริตจากการส่งเสริมการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การมีส่วนร่วมของสังคมในการตรวจสอบผู้นำและนักการเมือง รวมถึงการมีระบบตรวจสอบและลงโทษที่มีประสิทธิภาพ
บทความวิจัย | นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันและการให้สินบน

การศึกษาสาเหตุของปัญหาคอร์รัปชันและการให้สินบน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา คือ การปรับทัศนคติของสังคม และโครงสร้างทางอำนาจของรัฐ
บทความวิจัย | มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ

แนวทางการดำเนินคดีสำหรับผู้ทุจริตการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนากฎหมายการทุจริตการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ
KRAC Hot News I ถนนไม่ปลอดภัย เพราะปัญหาคอร์รัปชันที่สั่งสม

“กินกันเป็นระบบ” แต่บอกว่าเป็นการคอร์รัปชันส่วนบุคคล ทั้งที่งานศึกษาหลายชิ้นชี้ ความไม่ปลอดภัยบนท้องถนนมาจากการคอร์รัปชันที่สั่งสม อย่าปล่อยให้เรื่องราวสะเทือนใจจากเหตุการณ์รถบัสทัศนศึกษาเป็นเพียงอุบัติเหตุหนึ่งที่ผ่านเลยไป แต่เราควรมาถอดบทเรียนป้องกันไม่ให้โศกนาฏกรรมเช่นนี้เกิดซ้ำ
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : The Auditors : คอร์รัปชันไทย ใครจะออดิต

ซีรีส์ “The Auditors: ออดิตปิดคอร์รัปชัน” นับเป็นอีกหนึ่งซีรีส์ที่เป็นทางถนัดของเกาหลีในการหยิบเอาอาชีพต่างๆ มาวางเส้นเรื่องให้น่าสนใจผ่านแนวที่หลากหลายให้คนดูได้เรียนรู้เรื่องราวของอาชีพเหล่านั้นได้อย่างไม่น่าเบื่อ โดยสำหรับเรื่องนี้เป็นคิวของอาชีพ“นักตรวจสอบภายใน” …
KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I UNODC จับมือไนจีเรียจัดทำรายงานการทุจริตในไนจีเรีย ชี้ “การติดสินบนได้รับการยอมรับน้อยลง”

รายงานฉบับนี้มีชื่อว่า “การทุจริตในไนจีเรีย: รูปแบบและทิศทาง (Corruption in Nigeria: Patterns and Trends)” เป็นการสำรวจเกี่ยวกับการรับรู้การทุจริตของประชาชนในประเทศไนจีเรียจากประสบการณ์ของประชาชน นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์แนวโน้มการทุจริต ประสิทธิภาพของกลยุทธ์ และแนวทางการต่อต้านการทุจริตอีกด้วย
แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : ภาพลักษณ์ตำรวจไทย – มุมมองที่ต้องเร่งแก้ไข

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ภาพลักษณ์ของตำรวจไทยทั้งในสายตาประชาชนและชาวต่างชาติได้รับผลกระทบอย่างหนัก ไม่ว่าจะมองจากมุมไหน ก็ดูเหมือนว่าจะมีแต่เรื่องที่ไม่ค่อยจะดีนัก ทั้งกรณีปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารระดับสูงภายในองค์กรไปถึงการทุจริต
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | 3 มุมมองจากผู้รู้ สู่การแก้โกงจากการใช้ดุลยพินิจของรัฐ

เมื่อดุลยพินิจมากเกินไป แก้อย่างไรถึงจะเห็นผล ? ในการกำหนดนโยบายและการดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐต่างก็ต้องมีคนที่เข้ามาทำหน้าที่บริหารจัดการ โดยสามารถใช้ดุลยพินิจของตนเพื่อตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ได้ แต่หลายครั้งการวินิจฉัยกลับไม่เป็นไปอย่างเที่ยงธรรม หรือเป็นการวินิจฉัยที่เบี่ยงเบนไปตามความพึงพอใจ อคติ หรือเพื่อผลประโยชน์บางอย่าง จนเกิดเป็นการ “ทุจริต”