Click KRAC Click Clip: KRAC ชวนมารู้จัก AI ที่ช่วยเปิดข้อมูลให้การแก้ไขคอร์รัปชันง่ายขึ้น

KRAC ชวนคุณมารู้จัก AI ที่ช่วยเปิดข้อมูลให้การแก้ไขคอร์รัปชันง่ายขึ้น ว่าแต่ช่วยอย่างไร ? ให้ KRAC ช่วยไขคำตอบจากงาน “อว. แฟร์ : SCI POWER FOR FUTURE THAILAND”
คุณธนิสรา เรืองเดช

นักสื่อสารข้อมูลที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีและข้อมูลเปิดเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพลเมือง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น CEO และผู้ร่วมก่อตั้ง Punch Up
รศ.นพ.ม.ล. ทยา กิติยากร

ร่วมริเริ่มโครงการ “โตไปไม่โกง” ซึ่งเป็นโครงการที่มุ่งเน้นการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมให้กับเยาวชนไทย และผลิตสื่อด้านต่อต้านคอร์รัปชันร่วมกับชมรมรู้ทันกันโกง (F.A.C.T.) ซึ่งเป็นองค์กรที่มุ่งเน้นการสร้างความตระหนักรู้และการป้องกันการทุจริตในสังคมไทย โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน
KRAC The Experience | เรียนรู้เรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันผ่านโครงการ Eisenhower Fellowships

“KRAC The Experience” คอนเทนต์ใหม่แกะกล่องของ KRAC ! ที่จะพาทุกคนมาเรียนรู้เรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันผ่านการเดินทางไปที่สหรัฐอเมริกา ในโครงการ Eisenhower Fellowships 🌎✈️
Khairil Yusof

ที่ปรึกษาทางด้านโปรแกรมที่มีประสบการณ์ในด้านการพัฒนาโครงการอย่างสร้างสรรค์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีข้อมูลเปิดและมาตรฐานข้อมูลเปิดมาช่วยผลักดันความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันอย่างสร้างสรรค์
KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I EU Network Against Corruption เห็นพ้อง ! “การยื่นบัญชีทรัพย์สินควรเป็น ‘หน้าที่’ ของเจ้าหน้าที่รัฐ”

เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2024 คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ได้เผยแพร่บทความการประชุมหลังจากการเป็นเจ้าภาพในการจัด “การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สิน (Workshop on Asset Declaration Systems)” ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : ภาพลักษณ์ตำรวจไทย – มุมมองที่ต้องเร่งแก้ไข

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ภาพลักษณ์ของตำรวจไทยทั้งในสายตาประชาชนและชาวต่างชาติได้รับผลกระทบอย่างหนัก ไม่ว่าจะมองจากมุมไหน ก็ดูเหมือนว่าจะมีแต่เรื่องที่ไม่ค่อยจะดีนัก ทั้งกรณีปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารระดับสูงภายในองค์กรไปถึงการทุจริต
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | 3 มุมมองจากผู้รู้ สู่การแก้โกงจากการใช้ดุลยพินิจของรัฐ

เมื่อดุลยพินิจมากเกินไป แก้อย่างไรถึงจะเห็นผล ? ในการกำหนดนโยบายและการดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐต่างก็ต้องมีคนที่เข้ามาทำหน้าที่บริหารจัดการ โดยสามารถใช้ดุลยพินิจของตนเพื่อตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ได้ แต่หลายครั้งการวินิจฉัยกลับไม่เป็นไปอย่างเที่ยงธรรม หรือเป็นการวินิจฉัยที่เบี่ยงเบนไปตามความพึงพอใจ อคติ หรือเพื่อผลประโยชน์บางอย่าง จนเกิดเป็นการ “ทุจริต”