บทความวิจัย | กลยุทธ์การรณรงค์เพื่อการป้องกันปัญหาการทุจริต ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในกลุ่มเยาวชน

กลยุทธ์การรณรงค์เพื่อการป้องกันปัญหาการทุจริตในกลุ่มเยาวชนของสำนักงาน ป.ป.ช. มี 4 กลยุทธ์คือ การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม การใช้ผู้ทรงอิทธิพลในสื่อออนไลน์ การสร้างสารเพื่อการรณรงค์ และกลยุทธ์การถ่ายทอดนวัตกรรม
บทความวิจัย | การพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมนักเรียนตามทัศนะของ ติซ นัทฮันห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี ในพระอุปถัมภ์ ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง

การศึกษาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมนักเรียนตามทัศนของ ติซ นัท ฮันห์ บูรณาการกับทฤษฎีสีสื่อความรู้สึก และทฤษฎีประสบการณ์นิยมผ่านกิจกรรมที่เชื่อมโยงเข้ากับการทำงานของจิต เพื่อการปรับใช้กับหลักธรรมให้นักเรียนละเว้นจากกายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต
บทความวิจัย | การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ปี 58 พบว่า หน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมการประเมินได้คะแนนสูงสุดในดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน ถึงร้อยละ 89.64
บทความวิจัย | การพัฒนาศักยภาพสถาบันทางสังคมในการปลูกฝังจิตสำนึกคุณธรรมและค่านิยมสุจริตในสังคมไทย

การศึกษาการพัฒนาศักยภาพสถาบันทางสังคมในการปลูกฝังจิตสำนึกคุณธรรมและค่านิยมสุจริตในสังคมไทย ทั้งจากสถาบันครอบครัว สถาบันพระพุทธศาสนา และสถาบันการศึกษา/การปกครอง
บทความวิจัย | ภาวะผู้นำตามหลักสัตตบุรุษ (สัปปุริสธรรม)

หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 และหลักปาปณิกธรรม 3 “หลักธรรมเพื่อผู้นำ” หลักการร่วมรับผิดชอบที่จะช่วยป้องกันความเสื่อม และนำไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
บทความวิจัย | รับค่านิยมที่ผิดจะกลายเป็นบัณฑิตขาดจิตสํานึก

การศึกษาสาเหตุของการไร้จิตสํานึกในบัณฑิต พิจารณาในมิติด้านค่านิยมต่อการทุจริต พบว่า นักเรียนและนิสิต-นักศึกษา ใช้เทคโนโลยีเพื่อกระทำการทุจริตเพิ่มขึ้น
KRAC The Experience | EP 6: Academic driven The Anti-Corruption

คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่า “นอกจากภาครัฐและประชาชนแล้ว…ใครที่สามารถมีส่วนสำคัญ ในการต่อต้านคอร์รัปชันได้ ?” ร่วมไขข้อสงสัยได้ที่ KRAC The Experience ตอน “Academic driven The Anti-Corruption !”
บทความวิจัย | แนวทางการเสริมสร้างความรู้และควบคุมคอร์รัปชันภาคประชาชนจังหวัดเพชรบุรี

ประชาชนเป็นกุญแจสำคัญในการต่อต้านคอร์รัปชัน จึงต้องกําหนดวิธีการประสานความร่วมมือจากตัวแทนภาคประชาชนทุกระดับของท้องถิ่น และจัดให้มีระบบกลไกการตรวจสอบภายในจากภาคประชาชน เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น