Gender and corruption

หลักสูตรออนไลน์ 120 นาที จาก The U4 Anti-Corruption Resource Centre: เรียนรู้เรื่องเพศและการคอร์รัปชัน เพื่อเข้าใจความแตกต่าง ผลกระทบ และแนวทางสร้างความโปร่งใส เพื่อให้การต่อสู้กับการคอร์รัปชันมีประสิทธิภาพและเป็นธรรมมากขึ้น

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | “รังนก” ก็โกงได้ : ตรวจสอบช่องโหว่กลไกการให้สัมปทานรังนกไทย

ส่องกลไกสัมปทาน เมื่อการทุจริตรังนกอาจทำให้งบรั่วไหล หากไม่มีกลไกการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ แล้วเราจะป้องกันปัญหานี้ได้อย่างไร ? โดย KRAC สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “กระบวนการและการตรวจสอบการให้สัมปทานรังนกในภาคใต้ของประเทศไทย” (2562)

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เมื่อชีวิตมีแค่ทางเลือกที่แย่กับแย่น้อยกว่า: ปัญหามลพิษในประเทศไทยหนักแค่ไหน ?

รู้หรือไม่ว่าในชีวิตประจำวันของคนไทย การตัดสินใจง่ายๆ อย่างการเปิดหรือปิดหน้าต่างกลับสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาของคุณภาพชีวิตและปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ผู้เขียนจึงอยากเชิญชวนให้ผู้อ่านทุกท่านทำความเข้าใจปัญหามลพิษในอากาศจากก๊าซเรดอนในอาคาร ปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 และความสำคัญของการบริหารจัดการของภาครัฐ ผ่านพฤติกรรมง่ายๆ อย่างการเปิดหรือปิดหน้าต่าง

ชวนฟัง | KRAC INSIGHT LIVE EP. 03 | การแสวงหาค่าเช่าในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของไทย: พัฒนาการและโอกาสในการปฏิรูป

พบกับคุณธนวัฒน์ ปาแปง Graduate School of Public Policy, University of Tokyo ที่จะมาร่วมวิเคราะห์ประเด็นอุตสาหกรรมพลังงานของไทยมีอะไรซ่อนอยู่? และการแสวงหาค่าเช่า (Rent-seeking) ส่งผลอย่างไรต่อการพัฒนาและการปฏิรูป

KRAC Newsletter Vol.2 No.2 (February 2025)

ติดตามผลคะแนน CPI ของไทยในปี 2567 พร้อมคำแนะนำจาก TI ในคอลัมน์ #KRACHotNews และบทเรียนจากเพื่อน ๆ รอบตัวเราใน #KRACคัดสรรเล่างานวิจัยไทย ปิดท้ายด้วยกิจกรรม #KRACYourType ชวนทุกคนมาค้นหาวิธีต่อต้านคอร์รัปชันที่ใช่สำหรับคุณ เพื่อลงมือสร้างสังคมโปร่งใสไปด้วยกัน !

คะแนนร่วง แต่อันดับเพิ่ม ผลคะแนน CPI 2567 ของไทย ภาพสะท้อนสถานการณ์คอร์รัปชันทั่วโลกย่ำแย่

KRAC ร่วมกับ HAND Social Enterprise และภาคีเครือข่ายภาคสื่อมวลชนในการต่อต้านคอร์รัปชัน จัดกิจกรรมความร่วมมือเพื่อสนับสนุนนักข่าวสืบสวนการทุจริตในประเทศไทย

ความเสี่ยงต่อการทุจริตในปัญหาการบุกรุกทรัพยากรป่าไม้ กรณีป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ริม พื้นที่ม่อนแจ่ม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

จากปัญหาความขัดแย้งระหว่างการดำเนินการจัดการพื้นที่ป่าของภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ทำให้การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการบุกรุกป่าเกิดขึ้นได้ยาก ภาครัฐจึงต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง ไม่เลือกปฏิบัติ และต้องให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างยั่งยืน