Corruption in
Public Sector

Filter
Filter
KRAC Newsletter Vol.1 No.2 (November 2024)

KRAC Newsletter Vol.1 No.2 (November 2024)

เรียนรู้ประเด็นการคอร์รัปชันและธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม และสำรวจว่าทำไมค่าไฟในไทยถึงได้แพงหนักแพงหนาในคอลัมน์ #KRAC Hot News
KRAC Hot News I ไฟฟ้าไทยแพง เพราะภาคพลังงานยังโปร่งใสไม่พอ

KRAC Hot News I ไฟฟ้าไทยแพง เพราะภาคพลังงานยังโปร่งใสไม่พอ

เพราะไฟฟ้าได้กลายเป็นปัจจัยที่ 5 ไปแล้ว แต่ที่น่ากังวล คือไฟฟ้ายังคงเป็นปัจจัยเดียวที่ราคาไม่ได้เป็นไปตามกลไกตลาด ที่สำคัญยังเหมือนจะแพงขึ้นเรื่อย ๆ ด้วย...ทำไมค่าไฟฟ้าของไทยยังแพง และมีบทเรียนจากต่างประเทศอะไรบ้าง
บทความวิจัย : ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัด ในการรวบรวมพยานหลักฐานในความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ในองค์การบริหารส่วนตำบล
ประเทศไทยจะลดการฮั้วประมูลงานก่อสร้างในภาครัฐได้อย่างไร? บทสรุปจากค่ายสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Infrastructure Anti-Corruption Accelerator (IACA) Thailand Bootcamp มีคำตอบ

ประเทศไทยจะลดการฮั้วประมูลงานก่อสร้างในภาครัฐได้อย่างไร? บทสรุปจากค่ายสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Infrastructure Anti-Corruption Accelerator (IACA) Thailand Bootcamp มีคำตอบ

คุณศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ผู้จัดการศูนย์ KRAC ร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Infrastructure Anti-Corruption Accelerator (IACA) Thailand Bootcamp ในระหว่างวันที่ 13-15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
บทความวิจัย : นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันและการให้สินบน

บทความวิจัย : นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันและการให้สินบน

การศึกษาสาเหตุของปัญหาคอร์รัปชันและการให้สินบน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา คือ การปรับทัศนคติของสังคม และโครงสร้างทางอำนาจของรัฐ
บทความวิจัย : มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ

บทความวิจัย : มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ

แนวทางการดำเนินคดีสำหรับผู้ทุจริตการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนากฎหมายการทุจริตการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ
บทความวิจัย : ทางออกการป้องกันและการปราบปรามทุจริตในสังคมไทย

บทความวิจัย : ทางออกการป้องกันและการปราบปรามทุจริตในสังคมไทย

แนวทางแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในสังคมไทยต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม รวมทั้งภาคประชาชนในการติดตามและตรวจสอบการทุจริตในภาครัฐ
บทความวิจัย : คอร์รัปชันกับขนาดที่เหมาะสมที่สุดของรัฐบาล

บทความวิจัย : คอร์รัปชันกับขนาดที่เหมาะสมที่สุดของรัฐบาล

แนวคิด “ขนาดที่เหมาะสมที่สุดของรัฐบาล” โดย Barro ละเลยปัจจัยเรื่องการคอร์รัปชันในหน่วยงานรัฐ จนนำไปสู่การตั้งคำถามและการศึกษา ซึ่งพบว่า การคอร์รัปชันส่งผลกระทบเชิงลบต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุด
บทความวิจัย : กระบวนการทุจริตในวงการพระพุทธศาสนา

บทความวิจัย : กระบวนการทุจริตในวงการพระพุทธศาสนา

การศึกษาสาเหตุและกระบวนการของการเกิดการทุจริตในวงการพระพุทธศาสนา และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่ค้นพบ
บทความวิจัย : การประเมิน “เครื่องมือประเมิน” พิชิตความโกงของ ป.ป.ช. กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย

บทความวิจัย : การประเมิน “เครื่องมือประเมิน” พิชิตความโกงของ ป.ป.ช. กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย

เมื่อการประเมิน ITA ถูกประเมินเสียเอง พบว่า เครื่องมือประเมินคุณธรรมความโปร่งใสของ ป.ป.ช. ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่มุ่งแก้ไขปัญหาทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงานภาครัฐได้ (กรณีศึกษา จังหวัดเชียงราย)
ผู้จัดการศูนย์ KRAC ร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ  “Bangkok Budgeting งบประมาณกรุงเทพมหานครทำอย่างไรให้ เปิดเผย โปร่งใส และมีส่วนร่วมได้ ?”

ผู้จัดการศูนย์ KRAC ร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “Bangkok Budgeting งบประมาณกรุงเทพมหานครทำอย่างไรให้ เปิดเผย โปร่งใส และมีส่วนร่วมได้ ?”

เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้บริหารในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้สอดรับกับความท้าทายในยุคปัจจุบัน
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : วิถีชีวิตบนรอยร้าว : เขื่อนจีนกับปัญหาน้ำท่วมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : วิถีชีวิตบนรอยร้าว : เขื่อนจีนกับปัญหาน้ำท่วมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

หากพูดถึง “แม่น้ำโขง” ทุกท่านก็คงจะนึกถึงสายนทีทอดยาวที่ผูกกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ข้ามพรมแดนของผู้คนจากหลากหลายประเทศ เนื่องจากแม่น้ำโขงเป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีต้นกำเนิดมาจากภูเขาจี้ฟูบริเวณที่ราบสูงทิเบต มณฑลชิงไห่ ประเทศจีน และไหลผ่านประเทศต่างๆ มากถึง 6 ประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศลาว ประเทศเมียนมา ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และประเทศเวียดนาม ก่อนจะไหลลงสู่ทะเลผ่านพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำขนาดใหญ่