Corruption in
Public Sector

Filter
Filter
บทความวิจัย | การทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: เงื่อนไขและการป้องกัน

บทความวิจัย | การทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: เงื่อนไขและการป้องกัน

แนวทางในการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้ความสำคัญกับการสร้างจิตสำนึกในการต่อต้านการทุจริตในผู้ปฏิบัติงานและประชาชน สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต การพัฒนาระบบตรวจสอบการทุจริตและมาตรการปฏิบัติงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : ของขวัญหรือสินบน? เส้นบางๆ ของการให้ในเทศกาลแห่งการเฉลิมฉลองและการแบ่งปัน

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : ของขวัญหรือสินบน? เส้นบางๆ ของการให้ในเทศกาลแห่งการเฉลิมฉลองและการแบ่งปัน

เมื่อถึงเดือนธันวาคม หลายคนน่าจะนึกถึงเทศกาลแห่งการให้ของขวัญ ความสุข และความอบอุ่นหัวใจ หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ “เทศกาลคริสต์มาส” ช่วงนี้เราจะสัมผัสได้ถึงบรรยากาศของความอบอุ่น ความสัมพันธ์ และความสุขเริ่มปรากฏในแทบทุกที่ ...
บทความวิจัย | วิธีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ

บทความวิจัย | วิธีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ

การแก้ไขปัญหาการทุจริตในสังคมไทยควรนำมาตรการทางกฎหมายและหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ร่วมกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการสร้างเครื่องหมายความดี ซึ่งจะทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างประสิทธิภาพและยั่งยืน
บทความวิจัย | ความเป็นอิสระขององค์กรป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

บทความวิจัย | ความเป็นอิสระขององค์กรป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

การศึกษาความเป็นอิสระของสำนักงาน ป.ป.ท. พบว่า สำนักงาน ป.ป.ท. ควรเป็นอิสระจากการควบคุมของรัฐบาล เพื่อเป็นหลักประกันความเป็นอิสระในการทำงานของกลไกการดำเนินการกรณีทุจริตและประพฤติมิชอบ
บทความวิจัย | ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในระบบราชการ

บทความวิจัย | ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในระบบราชการ

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในระบบราชการไทยเกิดจากโครงสร้างเชิงอํานาจของสังคมไทยที่มีลักษณะความสัมพันธ์แนวดิ่ง ซึ่งเอื้อให้เกิดการทุจริตของผู้มีอำนาจ
บทความวิจัย | การบัญชีนิติเวชกับการทุจริตทางบัญชี: กรณีศึกษามหาวิทยาลัย เอ

บทความวิจัย | การบัญชีนิติเวชกับการทุจริตทางบัญชี: กรณีศึกษามหาวิทยาลัย เอ

การศึกษาการทุจริตทางบัญชี พบว่า การทุจริตเกิดจากภาวะสังคมทุนนิยมและความโลภ และความเข้มแข็งของการควบคุมภายในหน่วยงาน ดังนั้น การป้องกันการทุจริตต้องเริ่มจากนโยบายการควบคุมภายใน ที่มีพื้นฐานจากการพัฒนาวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมให้ไม่เอื้อต่อการทุจริต
บทความวิจัย | เครือข่ายกลุ่มอิทธิพลกับการทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา: กรณีศึกษาการทุจริตคอร์รัปชันจากโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอล และสหกรณ์ออมทรัพย์ครู

บทความวิจัย | เครือข่ายกลุ่มอิทธิพลกับการทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา: กรณีศึกษาการทุจริตคอร์รัปชันจากโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอล และสหกรณ์ออมทรัพย์ครู

การทุจริตคอร์รัปชันของภาคการศึกษาเกิดจากเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลระหว่างนักการเมือง ข้าราชการระดับสูง และพ่อค้าหรือนักธุรกิจที่มีการร่วมมือกันอย่างเป็นระบบ ประกอบกับการขาดระบบตรวจสอบที่เข้มแข็งจึงเอื้อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน
บทความวิจัย  ตัวแบบและแนวทางการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย

บทความวิจัย ตัวแบบและแนวทางการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย

การแก้ไขการทุจริตในภาครัฐควรเริ่มจากการสร้างความเข้าใจให้ผู้มีอำนาจและผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเหตุปัจจัยของการทุจริต การสร้างจิตสํานึกด้านจริยธรรม และการมีมาตรการตรวจสอบการฟอกเงิน การถือเงินสด และภาษี
บทความวิจัย | การทุจริตทางวิชาการ: ปัญหาที่บั่นทอนความเข้มแข็งของสังคม

บทความวิจัย | การทุจริตทางวิชาการ: ปัญหาที่บั่นทอนความเข้มแข็งของสังคม

การทุจริตทางวิชาการมีแนวทางแก้ไขเริ่มต้นจากการสร้างเจตคติและค่านิยม โดยการกําหนดนโยบายการดำเนินการที่ชัดเจน การกําหนดประมวลจริยธรรม และการตรวจสอบผลงานทางวิชาการด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ตลอดจนมีมาตรการในการลงโทษผู้ที่ทำการทุจริต
บทความวิจัย | แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชันในหน่วยงานภาครัฐ

บทความวิจัย | แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชันในหน่วยงานภาครัฐ

การนำหลักธรรมาภิบาล การสร้างเครื่องหมายแห่งความดี และหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชัน จะทำให้การดำเนินการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
บทความวิจัย | มูลเหตุแห่งการเกิดขึ้นและแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบที่เหมาะสมโดยผู้นำ

บทความวิจัย | มูลเหตุแห่งการเกิดขึ้นและแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบที่เหมาะสมโดยผู้นำ

การศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหาการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับผู้นำ พบว่า การแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างยั่งยืนผู้นำต้องแบบอย่างและไม่ทำการทุจริตเสียเอง และดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ให้ทำการทุจริต ประกอบกับการสร้างและพัฒนากลไกตรวจสอบและป้องกันการทุจริต
บทความวิจัย | การวิเคราะห์ปัญหาของผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้บริหารประเทศ

บทความวิจัย | การวิเคราะห์ปัญหาของผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้บริหารประเทศ

จากการวิเคราะห์ปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้บริหารประเทศพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีบทบัญญัติให้นักการเมืองปลอดจากผลประโยชน์ทับซ้อนไม่มีประสิทธิผลมากพอ จึงควรแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อแก้ไขปัญหา