KRAC News
& Update

Filter
Filter
KRAC Public Lecture : หัวข้อ “คอร์รัปชันภัยใกล้ตัว” โดย ดร.มานะ นิมิตรมงคล

KRAC Public Lecture : หัวข้อ “คอร์รัปชันภัยใกล้ตัว” โดย ดร.มานะ นิมิตรมงคล

เท่าทันคอร์รัปชันไทยไปกับผู้จุดกระแสต้านโกง ดร.มานะ นิมิตรมงคล ที่จะมาพูดถึงเหตุการณ์คอร์รัปชันใกล้ตัวหรือคอร์รัปชันที่เกิดในสังคมไทยแบบเจาะลึก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานี ชัยวัฒน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานี ชัยวัฒน์

ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการ ศูนย์เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการทดลองแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการ ศูนย์ความรู้เพื่อความร่วมมือในการต่อต้านคอร์รัปชันและส่งเสริมธรรมาภิบาล สังกัด คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานี ชัยวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานี ชัยวัฒน์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์เศรษฐศาสตร์
พฤติกรรมและการทดลองแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ซึ่งเป็นศูนย์ที่จัดตั้งขึ้นสำหรับการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง ซึ่งเป็นศาสตร์ที่นำเอาหลักการของการทดลองทางวิทยาศาสตร์เข้ามาตอบคำถามทางเศรษฐศาสตร์ ผศ. ดร.ธานี ชัยวัฒน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์การศึกษาเกี่ยวการวิจัยหลากหลายชิ้นซึ่งเป็นรากฐานองค์ความรู้ด้านการต่อต้านคอร์รัปชันในประเทศไทย เช่น โครงการวิจัยเพื่อสังคมไทยไร้คอร์รัปชัน ระยะที่ 2 โครงการสำรวจการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยครัวเรือน โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย เป็นต้น   ผศ. ดร.ธานี ยังมีความมุ่งมั่นในการผลักดันและส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกในการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน การปฏิรูปการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ การสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน การสร้างความโปร่งใสของรัฐ และการมีส่วนร่วมของคนรุ่นใหม่ เพื่อช่วยเสริมสร้างธรรมาภิบาลและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน ผลงานที่เกี่ยวข้อง (Related works) ธานี ชัยวัฒน์ และคณะ. (2564). […]
KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I กัวเตมาลา ประกาศเดินหน้าปราบปรามคอร์รัปชัน

KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I กัวเตมาลา ประกาศเดินหน้าปราบปรามคอร์รัปชัน

กัวตามาลา ประเทศที่ติดกับทางตอนใต้ของประเทศเม็กซิโก เป็นหนึ่งในประเทศที่มีปัญหาคอร์รัปชันที่รุนแรง โดยตั้งแต่ปี 2017 กัวเตมาลามีดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ที่ลดลงเกือบทุกปี จนทำให้ปัจจุบันประเทศนี้มีคะแนนเพียง 23 คะแนน ...
How to ต่อต้านคอร์รัปชันในไทยให้ได้ผล Round 1 : ต้องเริ่มต้นที่ระดับชุมชนและโรงเรียน

How to ต่อต้านคอร์รัปชันในไทยให้ได้ผล Round 1 : ต้องเริ่มต้นที่ระดับชุมชนและโรงเรียน

การแก้ไขปัญหาการคอร์รัปชันที่ฝังรากลึกตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาในสังคมไทย จำเป็นที่จะต้องมีการสร้าง “วัฒนธรรมต้านคอร์รัปชัน” ให้เกิดขึ้นได้จริงในสังคม เพื่อการต่อต้านและจัดการกับปัญหาคอร์รัปชันที่มีประสิทธิผล ...
KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน  I มาเลเซียเดินหน้า ติดตามเงินคืนจากคดีคอร์รัปชันกว่าแสนล้านบาท

KRAC Update เล่าข่าวต้านคอร์รัปชัน I มาเลเซียเดินหน้า ติดตามเงินคืนจากคดีคอร์รัปชันกว่าแสนล้านบาท

1MDB คือกองทุนที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2552 ตามนโยบายของอดีตนายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซีย นาจิบ ราซัค (Najib Razak) ซึ่งตั้งใจจะนำเงินทุนสำรองของประเทศไปลงทุนเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ แต่ในปี 2559 มีการสืบสวนพบว่า กองทุน 1MDB ...
มองการคอร์รัปชันที่เปลี่ยนไปในสังคมไทยปัจจุบัน

มองการคอร์รัปชันที่เปลี่ยนไปในสังคมไทยปัจจุบัน

พลวัตทางปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นของการคอร์รัปชันในสังคมไทยในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการคอร์รัปชันมีรูปแบบที่ซับซ้อนและแยบยลขึ้นกว่าในอดีต ...
รู้จัก CPI เพื่อเข้าใจสถานการณ์คอร์รัปชัน

รู้จัก CPI เพื่อเข้าใจสถานการณ์คอร์รัปชัน

ในปัจจุบัน ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน หรือ Corruption Perceptions Index (CPI) นับว่าเป็นดัชนีที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดจากรัฐบาล ภาควิชาการ และนักลงทุนทั่วโลก ...
จะหนีคอร์รัปชันให้พ้น ต้องเข้าใจ “คน” และ “พื้นที่”

จะหนีคอร์รัปชันให้พ้น ต้องเข้าใจ “คน” และ “พื้นที่”

การทำความเข้าใจคอร์รัปชัน ผ่านมุมมองเรื่องทัศนคติและพฤติกรรมของคนในสังคมที่มีต่อการคอร์รัปชันที่หลากหลายตามช่วงอายุและสภาพแวดล้อม เป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยทำให้เข้าใจถึงการคอร์รัปชันที่เกิดขึ้นในบริบทเชิงพื้นที่ที่แตกต่างกันออกไป ...
หันมองสถาบันและการคอร์รัปชันที่เป็นอยู่

หันมองสถาบันและการคอร์รัปชันที่เป็นอยู่

แนวคิดเกี่ยวกับ “สถาบัน” เป็นแนวคิดที่สามารถใช้อธิบายถึงปรากฏการณ์คอร์รัปชันที่มีความซับซ้อน
และเกี่ยวข้องกับมิติทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ...
คอร์รัปชันใน “มนุษย์” และ “สังคม”

คอร์รัปชันใน “มนุษย์” และ “สังคม”

พฤติกรรมของผู้คนที่มีต่อการคอร์รัปชันในสังคม ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยสำคัญสองประการ คือ บรรทัดฐานส่วนตน (Personal Norms) และบรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) ...
ถอดรหัสสมการว่าด้วยการคอร์รัปชัน

ถอดรหัสสมการว่าด้วยการคอร์รัปชัน

แนวคิด “สมการคอร์รัปชัน” นับว่าเป็นหนึ่งในแนวทางของการศึกษาคอร์รัปชันที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางผ่านการอธิบายปัญหาคอร์รัปชันในรูปแบบของสมการที่เข้าใจได้ง่าย ...
คอร์รัปชันนั้นเขาวัดกันยังไง

คอร์รัปชันนั้นเขาวัดกันยังไง

การออกแบบ หรือสร้างวิธีการเพื่อวัดระดับการคอร์รัปชันที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการวัดจากมุมมองภาพลักษณ์ การวัดจากการถามประสบการณ์ตรงและจากหลักฐานที่มี ...