บทความวิจัย | แบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1): หลักการ ปัญหา การปรับตัว

การศึกษาหลักการ ปัญหา และการปรับตัวของการจัดทำแบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1) มีส่วนสำคัญในการตรวจสอบเส้นทางการเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถตรวจสอบและดำเนินคดีทุจริตได้
 

บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อสรุปหลักการต่าง ๆ ของแบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ  (บช.1) ซึ่งเป็นหน้าที่ของบุคคลหรือนิติบุคคลที่เป็นคู่สัญญากับหน่วยงานภาครัฐที่จะต้องยื่นพร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีประจําปีต่อกรมสรรพากร รวมถึงประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น และแนวทางปฏิบัติสําหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับแบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1) ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนผู้ที่ได้ทําสัญญารับทุนสนับสนุนเพื่อการวิจัยจากหน่วยงานภาครัฐ  อันจะเป็นแนวทางให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องได้เตรียมความพร้อมเบื้องต้นในการวางแผนการทํางานและการปรับตัว

 

จากการศึกษาพบว่า การทำแบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1) ทําให้ทราบกําไร ขาดทุน รายได้ ค่าใช้จ่ายของแต่ละโครงการ ซึ่งมีประโยชน์ในการตรวจสอบภาษีเงินได้ และสามารถตรวจสอบเส้นทางการใช้จ่ายเงินรายโครงการที่เป็นคู่สัญญากับหน่วยงานภาครัฐอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีส่วนช่วยในการตรวจสอบตามขั้นตอนของการดำเนินคดีทุจริต

เอกสารอ้างอิง

รูปแบบ APA

นภาพร หงส์ภักดี. (2556). แบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1): หลักการ ปัญหา การปรับตัว. วารสารนักบริหาร, 3(3), 1118.

ปีที่แต่ง (พ.ศ.)
2556
ผู้แต่ง

นภาพร หงส์ภักดี

วารสารที่ตีพิมพ์

หัวข้อ
Related Content

แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็นสังคมที่ปลอดคอร์รัปชันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนในเขตบางเขน เขตสายไหม เขตดอนเมือง และเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

ศึกษาสภาพปัญหาและปัจจัยที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน ตลอดจนรูปแบบและช่องทางการแก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจกรรมในชุมชน โดยมีชุมชนเป็นหัวใจในการขับเคลื่อน

ระบบการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน

ศึกษาระบบการตรวจสอบการเงิน การคลัง บัญชี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีกรณีศึกษา คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลำปาง ลําพูน เชียงใหม่ และเเม่ฮ่องสอน

บทความวิจัย | แบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1): หลักการ ปัญหา การปรับตัว

การศึกษาหลักการ ปัญหา และการปรับตัวของการจัดทำแบบบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการ (บช.1) มีส่วนสำคัญในการตรวจสอบเส้นทางการเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถตรวจสอบและดำเนินคดีทุจริตได้

You might also like...

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | “รังนก” ก็โกงได้ : ตรวจสอบช่องโหว่กลไกการให้สัมปทานรังนกไทย

ส่องกลไกสัมปทาน เมื่อการทุจริตรังนกอาจทำให้งบรั่วไหล หากไม่มีกลไกการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ แล้วเราจะป้องกันปัญหานี้ได้อย่างไร ? โดย KRAC สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “กระบวนการและการตรวจสอบการให้สัมปทานรังนกในภาคใต้ของประเทศไทย” (2562)

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | คอร์รัปชันในอุตสาหกรรมประมงไทย : ปัญหาที่กระทบเศรษฐกิจ สิทธิมนุษยชน และภาพลักษณ์ประเทศ

จะแก้อย่างไรถ้าอุตสาหกรรมประมงไทยคอร์รัปชัน ? ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมประมงระดับโลกของไทยอีกด้วย โดย KRAC สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์การทุจริตคอร์รัปชันขบวนการเครือข่ายนายหน้าแรงงานข้ามชาติเมียนมาในอุตสาหกรรมประมงต่อเนื่องของประเทศไทย” (2562)

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | เบื้องหลังการทุจริตภาษีศุลกากร: เมื่อบริษัทปลอมกลายเป็นเครื่องมือเลี่ยงภาษี

บริษัทปลอม vs ศุลกากร : หนีภาษีเขาทำกันอย่างไร ? วิธีป้องกันบริษัทปลอม แหล่งหนีภาษาศุลกากรหลักหมื่นล้าน !! กระบวนการเหล่านี้จะเป็นอย่างไร ? แต่ละตัวละครทำหน้าที่อะไร สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “การศึกษากลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบ: กรณีศึกษาการทุจริตภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีศุลกากรในประเทศไทย” (2561)