KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | ถ้าสื่อไทยมีเสรีภาพมากขึ้น จะช่วยลดการคอร์รัปชันได้หรือไม่ ?

สื่อมวลชนไม่ได้มีหน้าที่เพียงแค่การรายงานข่าว แต่ยังสามารถร่วมแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาการคอร์รัปชันผ่านการเปิดโปงการกระทำผิดของหน่วยงานรัฐได้ ร่วมหาคำตอบว่าเสรีภาพสื่อมวลชนไทยส่งผลต่อระดับคอร์รัปชันในสังคมไทยอย่างไร
คะแนนร่วง แต่อันดับเพิ่ม ผลคะแนน CPI 2567 ของไทย ภาพสะท้อนสถานการณ์คอร์รัปชันทั่วโลกย่ำแย่

KRAC ร่วมกับ HAND Social Enterprise และภาคีเครือข่ายภาคสื่อมวลชนในการต่อต้านคอร์รัปชัน จัดกิจกรรมความร่วมมือเพื่อสนับสนุนนักข่าวสืบสวนการทุจริตในประเทศไทย
KRAC INSIGHT | นักข่าวสืบสวนสำคัญอย่างไรกับการต้านโกง ? ร่วมหาคำตอบได้ที่งานประชุมความร่วมมือเครือข่ายสื่อมวลชนต่อต้านคอร์รัปชัน

KRAC ร่วมกับ HAND Social Enterprise และภาคีเครือข่ายภาคสื่อมวลชนในการต่อต้านคอร์รัปชัน จัดกิจกรรมความร่วมมือเพื่อสนับสนุนนักข่าวสืบสวนการทุจริตในประเทศไทย
แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : ต้านโกง สื่อผิด ชีวิตเปลี่ยน กลยุทธ์สื่อสารที่ได้ผลจากงานวิจัย

สัปดาห์นี้ ผมจะเดินทางไปสัมมนา “Seizing Political Windows of Opportunities: Strategizing Rapid Response Strategies for Anti-corruption Reforms in Transition Contexts” ที่จัดโดยNational Democratic Institute (NDI) ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นงานประชุมก่อนหน้างาน Open Government Partnership (OGP) Asia and the Pacific Regional Meeting
การเพิ่มประสิทธิภาพภารกิจป้องกันการทุจริตของสำนักงาน ป.ป.ช. ภาค และสำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด

การศึกษาประสิทธิภาพภารกิจป้องกันการทุจริตของสำนักงาน ป.ป.ช. ภาค และสำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด พบว่า การดำเนินงานมีปัญหานับตั้งแต่กระบวนการวางแผน ขั้นตอนการทำงาน ตลอดจนการประเมินผล จึงไม่สามารแก้ไขปัญหาทุจริตได้อย่างมีประสิทธิผล
การสังเคราะห์รูปแบบ กลไกและแนวทางการปลูกฝังเจตคติและวัฒนธรรมสุจริตเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

การศึกษาแนวทางการปลูกฝังเจตคติและวัฒนธรรมสุจริต พบว่า การนำค่านิยมสุจริตมาใช้กับองค์การทางสังคมสามารถปรับตามแนวคิดวัฒนธรรมองค์การได้ เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การเป็นแนวคิดที่อธิบายถึง ความเชื่อ และค่านิยมภายในองค์การ ซึ่งกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในองค์การ
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

นักวิจัยอาวุโสที่สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย และผู้ประสานงานและก่อตั้ง E-Public Law Project เชี่ยวชาญด้านการทำงานการวิจัยด้านกฎหมายและนโยบายสาธารณะ
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เกิดมาทั้งที ขอมีชีวิตดีๆ หน่อยไม่ได้หรือ

ความต้องการในชีวิตของผมมีเพียงไม่กี่อย่าง เปลี่ยนไปตามช่วงอายุและประสบการณ์ที่พบเจอระหว่างทาง และหนึ่งในความต้องการหรือความฝันอันสูงสุดของผมคงเป็นการได้มี “ชีวิตที่ดี” อยู่ในสังคมที่พร้อมพัฒนา ที่แม้แต่ในขณะผมที่เขียนบทความจะยังไม่สามารถบอกได้อย่างชัดเจนว่า ชีวิตที่ดีของผมคืออะไรกันแน่ แต่หากทุกคนอยากลองขบคิดถึงการมีชีวิตที่ดีไปพร้อมๆ กันกับผม ผมอยากขอให้ทุกคนร่วมอ่านเรื่องราวของผมที่จะทำให้หวนนึกถึงช่วงเวลาที่ผ่านไปจนถึงช่วงเวลาที่ยังมาไม่ถึงกับคำถามที่ว่า ชีวิตที่ดีเกิดขึ้นจากอะไร