รูปแบบการทุจริตและปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ศึกษารูปแบบและปัจจัยเสี่ยงของการทุจริตคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขหรือกำหนดมาตรการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทบาทและอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทศวรรษหน้ากับความเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

ศึกษาสภาพการณ์ของการกระจายอํานาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย เเละวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

แนวทางการเสริมสร้างธรรมาภิบาลท้องถิ่นและการเฝ้าระวังติดตามการคอร์รัปชันโดยชุมชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษา : พื้นที่อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

เพื่อศึกษาบริบทของชุมชน ทุนทางสังคม และสถานการณ์ธรรมาภิบาลและการคอร์รัปชันในระดับพื้นที่ รวมถึงระบบและกลไกทางสังคมต่อการจัดการ และป้องกันปัญหาโดยชุมชนมีส่วนร่วม

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เมื่อปลายทางการเรียกร้องไม่สมหวัง แล้วประชาชนได้อะไร

10 20 30 40 (รู้นะ ว่ามีคนร้องเป็นทำนอง) นี่ไม่ใช่เนื้อเพลงคุ้นหูที่เคยเป็นไวรัลในโลกอินเตอร์เน็ตเมื่อหลายปีก่อน แต่เป็นจำนวนปีของการออกมาขับเคลื่อนประเด็นปัญหาต่างๆ และยืนหยัดในอุดมการณ์ของผู้คนในประเทศนี้ …

Jawnylublin.pl เปิดเผยข้อมูลการใช้จ่ายสาธารณะ กระตุ้นประชาชนร่วมเฝ้าระวังการทุจริตภาคท้องถิ่น

หลายครั้งที่เราสับสนว่า เอ๊ะ เราเสียภาษีไปเท่าไร รัฐบาลเขาเอาไปทำอะไรให้เกิดประโยชน์บ้าง เมื่อเรื่องภาษี และการใช้จ่ายของรัฐทำให้เข้าใจยาก แล้วใครจะอยากไปติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวังการทุจริตได้ล่ะ

LAPOR! แพลตฟอร์มร้องเรียนปัญหาการใช้บริการสาธารณะ และการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ

เมื่อชาวอินโดนีเซียเจอปัญหาการใช้บริการสาธารณะของภาครัฐ แต่ร้องเรียนไปก็ไม่มีใครมาแก้ไขให้ เขาจะแก้ปัญหานี้ยังไง !?

ระบบการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน

ศึกษาระบบการตรวจสอบการเงิน การคลัง บัญชี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีกรณีศึกษา คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลำปาง ลําพูน เชียงใหม่ และเเม่ฮ่องสอน