บทความวิจัย | บทบาทและสมรรถนะของนักบัญชีนิติวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย

นักบัญชีนิติวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย มีบทบาทและสมรรถนะช่วยให้การตรวจสอบทุจริตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการทุจริตในปัจจุบันซับซ้อนเกินกว่าที่นักบัญชีวิชาชีพทั่วไปจะสามารถตรวจสอบได้

บทความวิจัย | คุณค่าของนิติวิทยาศาสตร์ในทรรศนะของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่รายงานต่อสภาวิชาชีพบัญชี

การศึกษากระบวนการทางบัญชีนิติวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในสายวิชาชีพบัญชี พบว่า มีการนำวิชาการบัญชีนิติวิทยาศาสตร์มาช่วยงานการตรวจสอบการทุจริต โดยใช้วิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการทุจริตทางการเงินมากที่สุด

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | “ธรรมาภิบาล” หลักการที่ยืดหยุ่น พร้อมสร้างประสิทธิภาพ

เคยสงสัยไหมว่าทำไมหลักธรรมาภิบาลของแต่ละองค์กรถึงดูไม่เหมือนกัน บางองค์กรมี 6 หลัก บางองค์กรมี 8 หลัก ความจริงแล้วหลากหลายองค์กรทั่วโลกล้วนมีการวางแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาลที่ต่างกัน โดยงานวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูล องค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (ระยะที่ 2)” (2563) ได้ศึกษาเรื่องนี้เอาไว้

บทความวิจัย | กลไกป้องปรามการทุจริตของภาคประชาชนผ่านการสอดส่องและเสนอแนะ

การดำเนินกลไกป้องปรามการทุจริตผ่านคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดที่เน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน และสมาชิกสภาท้องถิ่นที่ไม่ใช่ผู้บริหารในการตรวจสอบและติดตามการดำเนินโครงการจะทำให้เกิดความโปร่งใสและความคุ้มค่าของการดำเนินโครงการ

KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | ส่งเสริมธรรมาภิบาลให้กว้างไกลด้วยการสร้างรางวัลให้องค์กร

พาทุกคนมาศึกษาจุดเริ่มต้นของธรรมาภิบาลในประเทศไทยช่วงหลังวิกฤติเศรษฐกิจไทย 2540 ที่นำมาสู่การมอบรางวัลเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลไทย ซึ่งจะทำให้เห็นถึงพัฒนาการและภาพรวมของธรรมาภิบาลในประเทศไทยมากขึ้น และการมีธรรมาภิบาลจะช่วยลดคอร์รัปชันได้อย่างไร ?

การค้าจะเกิดความเป็นธรรมได้อย่างไร ในวันที่ธรรมาภิบาลไทยยังมีปัญหา? งานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “New Fair Game โลกใหม่ของการแข่งขันที่เป็นธรรม” อาจมีคำตอบให้เราได้

คุณศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ผู้จัดการศูนย์ KRAC ร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “New Fair Game โลกใหม่ของการแข่งขันที่เป็นธรรม” จัดโดย 101 PUB – 101 Public Policy Think Tank ร่วมกับ Friedrich Naumann Foundation (FNF)

บทความวิจัย | การศึกษาสัญญาณเตือนการทุจริต: กรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1

การศึกษาสัญญาณเตือนการทุจริตของสหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่ สตท.1 พบว่า มีสัญญาณเตือนการทุจริตที่สำคัญคือ 1) สภาพแวดล้อมและโครงสร้างการบริหารและการควบคุมภายในที่ไม่ดี 2) พฤติกรรมส่วนบุคคลของบุคลากรในสหกรณ์ และ 3) สัญญาณเตือนการทุจริตด้านการเงินและบัญชี