Corruption in
Public Sector

Filter
Filter
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : แก้บนอาจไม่ถูกใจ แต่สินบนถูกใจแน่นอน

คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : แก้บนอาจไม่ถูกใจ แต่สินบนถูกใจแน่นอน

สวัสดีปีใหม่และสุขสันต์วันคริสต์มาสแด่นักอ่านแนวหน้าทุกท่าน ในเทศกาลแห่งความสุขนี้ ผู้เขียนขอมอบเพลง Santa Doesn’t Know You Like I Do ของ Sabrina Carpenter เพื่อเป็นหนึ่งในเพลงที่เหมาะสำหรับการฟังในช่วงเวลาพิเศษนี้ เนื้อเพลงได้สื่อถึงความรักของคนคนหนึ่งที่สามารถเติมเต็มความปรารถนาของคนรักได้โดยไม่ต้องพึ่งคุณพ่อฤดูหนาวหรือซานต้า เพราะซานต้านั้นไม่ได้รู้จักตัวตนของเราดีไปกว่าคนใกล้ชิดหรือคนใกล้ตัว
โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2)

โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2)

การศึกษาเพื่อสร้างตัวชี้วัดสำหรับการประเมินและติดตามการนำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหารจัดการขององค์กรในประเทศไทย พบว่า มีความเหมาะสมในการนำไปใช้ในระดับมาก และยังสามารถปรับปรุงดัชนีชี้วัดบางตัวเพื่อให้สอดคล้องการทำงานของแต่ละหน่วยงานได้
บทความวิจัย | การพัฒนารูปแบบการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทความวิจัย | การพัฒนารูปแบบการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลทำให้เกิดการป้องกันการทุจริต ขณะที่ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาศักยภาพชุมชนส่งผลให้เกิดการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
บทความวิจัย | การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

บทความวิจัย | การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

การทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การสมคบการทุจริตคอร์รัปชัน เช่น การปลอมแปลงเอกสาร การฉ้อโกง และการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐในการปฏิบัติหน้าที่ เช่น ความล่าช้าในการปฏิบัติงาน การยึดเอาวัตถุประสงค์รองมาเป็นวัตถุประสงค์หลัก
บทความวิจัย | การสร้างความเข้มแข็งภาคประชาสังคมกับปัญหาการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ต

บทความวิจัย | การสร้างความเข้มแข็งภาคประชาสังคมกับปัญหาการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ต

การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายประชาชนในจังหวัดภูเก็ต เพื่อให้สามารถติดตาม ปกป้อง ตรวจสอบการทุจริตได้นั้นต้องอาศัยการทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดความรู้สึกร่วมในการต่อต้านการทุจริต
บทความวิจัย | เครือข่ายการต่อต้านทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

บทความวิจัย | เครือข่ายการต่อต้านทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

ในการแก้ไขปัญหาการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ควรเริ่มจากการก่อตั้งเครือข่ายการต่อต้านทุจริตในองค์กรเพื่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกภายใน จากนั้นจึงควรสร้างเครือข่ายร่วมกับกลุ่มของภาคประชาชนเพื่อต่อต้านการทุจริต
บทความวิจัย | นโยบายป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: ศึกษาเชิงวิพากษ์การนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ

บทความวิจัย | นโยบายป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: ศึกษาเชิงวิพากษ์การนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ

การป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้ความสำคัญกับปัจจัยสำเร็จ เช่น นโยบาย ทรัพยากร กลไกการควบคุมภายใน เป็นต้น และกำกับดูแลปัจจัยล้มเหลว เช่น ผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติงาน สภาพแวดล้อม เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินนโยบายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บทความวิจัย | การพัฒนารูปแบบป้องกันการทุจริตเพื่อสร้างอนาคตร่วมกันของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดเลย

บทความวิจัย | การพัฒนารูปแบบป้องกันการทุจริตเพื่อสร้างอนาคตร่วมกันของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดเลย

การพัฒนารูปแบบการป้องกันการทุจริตอย่างยั่งยืน ควรการสร้างค่านิยมด้านจริยธรรมวิชาชีพร่วมกันของพนักงาน โดยการจัดสวัสดิการอย่างเท่าเทียม และยึดหลักความโปร่งใสและความสามารถของพนักงาน เพื่อให้ภาครัฐและประชาชนสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงมีกระบวนการที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจตามหลักธรรมาภิบาล
บทความวิจัย | นโยบายป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: ศึกษาเชิงวิพากษ์การนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ

บทความวิจัย | นโยบายป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: ศึกษาเชิงวิพากษ์การนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ

การดำเนินนโยบายป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ประสบผลสำเร็จต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านนโยบาย ทรัพยากร ลักษณะขององค์กรที่นํานโยบายไปปฏิบัติ การติดต่อสื่อสาร กลไกการควบคุมภายใน และนโยบายเพื่อการป้องกันการทุจริต
บทความวิจัย | รูปแบบการป้องกันการทุจริตในสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1

บทความวิจัย | รูปแบบการป้องกันการทุจริตในสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1

การพัฒนารูปแบบการป้องกันทุจริตในสถานศึกษาฯ ควรพิจารณา 3 ส่วน คือ 1) ส่วนของแนวคิด หลักการและวัตถุประสงค์ของรูปแบบ 2) ส่วนองค์ประกอบหลักของรูปแบบการป้องกันทุจริตในสถานศึกษาและแนวทางดำเนินการในสถานศึกษา และ 3) เงื่อนไขความสำเร็จ
บทความวิจัย | การเสริมสร้างเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาญจนบุรี

บทความวิจัย | การเสริมสร้างเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาญจนบุรี

แนวทางการพัฒนาเครือข่ายการต่อต้านทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการสื่อสารระหว่างกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชน การสร้างตัวอย่างที่ดี การสร้างสังคมหิริโอตัปปะ และการสนับสนุนระบบการร้องเรียน ความโปร่งใส การป้องกันการทุจริต รวมถึงการมีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้บริหาร
บทความวิจัย | บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการทุจริตในภาครัฐ

บทความวิจัย | บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการทุจริตในภาครัฐ

การแก้ไขปัญหาการทุจริตในภาครัฐต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตามและรายงานการทำงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานรัฐในแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะทำให้หน่วยงานที่ทำงานด้านการตรวจสอบการทุจริตสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ครอบคลุมและลดโอกาสของการถูกปกปิดข้อมูล