KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | เบื้องหลังการทุจริตภาษีศุลกากร: เมื่อบริษัทปลอมกลายเป็นเครื่องมือเลี่ยงภาษี

บริษัทปลอม vs ศุลกากร : หนีภาษีเขาทำกันอย่างไร ? วิธีป้องกันบริษัทปลอม แหล่งหนีภาษาศุลกากรหลักหมื่นล้าน !! กระบวนการเหล่านี้จะเป็นอย่างไร ? แต่ละตัวละครทำหน้าที่อะไร สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “การศึกษากลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบ: กรณีศึกษาการทุจริตภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีศุลกากรในประเทศไทย” (2561)
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | แก้เกมฟอกเงิน แก้โกงงบประมาณ

ปัญหาฟอกเงินไทย อะไรคือจุดอ่อน ? ชวนสำรวจแนวทางการป้องกันฟอกเงินด้วยการแก้กฎหมายบางมาตรา และสร้างความร่วมมือเพื่อให้เกิดความโปร่งใส จากงานวิจัยเรื่อง การต่อต้านการคอร์รัปชัน: มาตรการการควบคุมการเคลื่อนไหวของเงิน (2558)
แนวหน้าต่อต้านคอร์รัปชัน : บทเรียนจากตึก สตง.: จริยธรรมและความโปร่งใสแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ

เหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดในรอบร้อยปีของประเทศไทย ได้สร้างความเสียหายและความสูญเสียในหลายพื้นที่ ผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ที่สูญเสียและทุกคนที่ได้รับผลกระทบจากภัยครั้งนี้
เชิญร่วมรับฟังการบรรยายพิเศษผ่าน ZOOM Meeting หัวข้อ “Business Integrity in Action with Collective Action Against Corruption” โดยคุณภิญญ์ ศิรประภาศิริ

ทำความเข้าใจอุปสรรคและความท้าทายในการดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม เเละ ประโยชน์ของ Collective Action ในการต่อต้านคอร์รัปชัน! กับคุณภิญญ์ ศิรประภาศิริ ผู้จัดการแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (CAC) ในวันที่ 3 เมษายน 2568 เวลา 13.00 – 16.00 น. ผ่าน ZOOM MEETING
คิดด้วยพลเมือง(See-Think-Cen’) : เมืองไทย เมืองพุทธ เมื่อศรัทธาของชาวบ้านถูกนำไปใช้หาผลประโยชน์ส่วนตัว

“เมืองไทย เมืองพุทธ” “วัดไทยคือหัวใจของชุมชน” “พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ” หลายๆ คนที่ได้อ่านน่าจะคุ้นชินกับชุดคำเหล่านี้ เพราะคนไทยกับศาสนาพุทธเป็นสิ่งที่อยู่คู่กันมาช้านานตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ศาสนาพุทธกับการมีอยู่ของวัดและพระสงฆ์เองก็มีบทบาทสำคัญที่เป็นศูนย์กลางดำรงชีวิตของคนไทยเลย
แนวโน้มการฟอกเงินในประเทศไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีการฟอกเงินผ่านนิติบุคคล และธุรกิจบังหน้า ทนายความและนักบัญชี บริษัทนำเที่ยว ทรัสต์ต่างประเทศที่ดำเนินการในประเทศไทย การเล่นแชร์ที่มีการฉ้อโกงและการฟอกเงินผ่านองค์กรไม่แสวงหากำไร

เมื่อการฟอกเงินเป็นปัญหาร้ายแรงที่ยังคงแพร่หลายในสังคมไทย การแก้ไขปัญหาจึงต้องลองศึกษาแนวทางที่ประสบความสำเร็จจากต่างประเทศ เพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทประเทศไทยในการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
การจ่ายสินบนให้แก่เจ้าหน้าที่รัฐของบรรษัทข้ามชาติ และนักลงทุนที่ประกอบธุรกิจและลงทุนในประเทศไทย

การศึกษาสถานการณ์เรื่องการเรียกรับและให้สินบนของภาคธุรกิจในประเทศไทย แนวทางการดำเนินการของสำนักงาน ป.ป.ช. ในการจัดการปัญหา พร้อมทั้งถอดบทเรียน Best Practice จากต่างประเทศ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทย
ชนิดาภา กุลวานิช

ผู้จัดการส่วนป้องกันและปราบปรามการทุจริต บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) และมีบทบาทเป็นโค้ช STRONG ขององค์กรพอเพียงต้านทุจริต