ชวนดูแนวทางใหม่ในการจัดการ “ปัญหาการฟอกเงิน” ของสหรัฐฯ ผ่านนโยบายที่บูรณาการร่วมกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
- การจัดทำทะเบียนข้อมูลความเป็นเจ้าของบริษัท (Beneficial Ownership Registry) ที่สร้างขึ้นในสหรัฐฯ พร้อมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับเจ้าของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง
- ข้อเสนอที่กำหนดให้ผู้เชี่ยวชาญในตลาดอสังหาริมทรัพย์เปิดเผยข้อมูลธุรกรรมอื่นที่ไม่ใช่การเงิน ซึ่งรวมถึงบริษัทนิติบุคคลและทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน (Trust for Transactions in Capital Market; TRUST) หรือนิติสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นตามสัญญาเพื่อการจัดการทรัพย์สิน
- ข้อเสนอที่กำหนดให้ที่ปรึกษาการลงทุนต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดการป้องกันการฟอกเงินอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ศูนย์ความรู้เพื่อความร่วมมือในการต่อต้านคอร์รัปชัน และส่งเสริมธรรมาภิบาลในระดับภูมิภาค
หัวข้อ
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | โควิดเป็นเหตุ: สำรวจสถานการณ์ทุจริตที่เพิ่มขึ้นในช่วงโรคระบาด
การระบาดของโควิด-19 นำมาซึ่งวิกฤตการณ์ที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อทุกภาคส่วนทั่วโลก โดยพบว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าการให้และเรียกรับสินบนในภาคธุรกิจเพิ่มขึ้นในช่วงโควิด-19 แล้วเราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ? อ่านเพิ่มเติมได้ในบทความนี้เลย
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | แก้เกมฟอกเงิน แก้โกงงบประมาณ
ปัญหาฟอกเงินไทย อะไรคือจุดอ่อน ? ชวนสำรวจแนวทางการป้องกันฟอกเงินด้วยการแก้กฎหมายบางมาตรา และสร้างความร่วมมือเพื่อให้เกิดความโปร่งใส จากงานวิจัยเรื่อง การต่อต้านการคอร์รัปชัน: มาตรการการควบคุมการเคลื่อนไหวของเงิน (2558)
KRAC คัดสรร เล่างานวิจัยไทย | เบื้องหลังการทุจริตภาษีศุลกากร: เมื่อบริษัทปลอมกลายเป็นเครื่องมือเลี่ยงภาษี
บริษัทปลอม vs ศุลกากร : หนีภาษีเขาทำกันอย่างไร ? วิธีป้องกันบริษัทปลอม แหล่งหนีภาษาศุลกากรหลักหมื่นล้าน !! กระบวนการเหล่านี้จะเป็นอย่างไร ? แต่ละตัวละครทำหน้าที่อะไร สรุปมาให้เเล้วจากงานวิจัยเรื่อง “การศึกษากลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบ: กรณีศึกษาการทุจริตภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีศุลกากรในประเทศไทย” (2561)